การเตรียมความพร้อมโครงการห้องเรียนอัจฉริยะ มหาวิทยาลัยรังสิต ณัฐพัชร์ หลวงพล, ผศ.ดร. วลัยภรณ์ นาคพันธุ์ ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
Why? ทำไมต้องมีโครงการ Smart Classroom ในปัจจุบันระบบการศึกษาในประเทศไทย ในระดับพื้นฐานตั้งแต่ชั้นประถม และมัธยมศึกษา ได้ตื่นตัวและมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอนให้ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการเรียนสอน และการเรียนรู้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของระบบการศึกษาแล้ว และเยาวชนเหล่านี้คือผู้ที่พร้อมสำหรับระบบการเรียนรู้แบบใหม่ มีความคุ้นเคยกับการใช้อุปกรณ์เป็นอย่างดี ประเด็นสำคัญที่ต้องเตรียมพร้อมคือ กลุ่มเหล่านี้เมื่อเข้าสู่การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ผู้สอนจะต้องมีการปรับตัว รูปแบบการเรียนการสอนจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต
ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21
เทคโนโลยีได้เปลี่ยนโฉมหน้าของการศึกษาอย่างเลี่ยงไม่ได้ และเห็นผลกระทบของสิ่งเหล่านี้ไปบ้างแล้ว ลองจินตนาการถึงชั้นเรียนที่จะเป็นในอีก 20 ปีข้างหน้า 91% ของครูมีเครื่องคอมพิวเตอร์ในชั้นเรียน แต่มีเพียง 1 ใน 5 ของครูเหล่านี้ที่รู้สึกว่าชั้นเรียนของพวกเขามีระดับของเทคโนโลยีที่เหมาะสมแล้ว บ่งบอกถึงเทคโนโลยีมีอัตราการเปลี่ยนแปลงที่เร็วมากๆ
ทั้งครูและนักเรียน ส่วนใหญ่เชื่อว่าเครื่อง Tablet จะช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ในชั้นเรียน 81% ของผู้สอน เชื่อว่า แทปเล็ตจะช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ในชั้นเรียน 86% ของผู้เรียน เชื่อว่า การเรียนของพวกเขาจะมีประสิทธิภาพมากกว่าเมื่อใช้แทปเล็ต 59% ของผู้เรียนใช้เครื่องโมบายของตัวเองในการเสริมการเรียนรู้ 1 ใน 5 ของผู้เรียนใช้ app บนโมบายเพื่อจัดการด้านการเรียนการสอนของพวกเขา 29% ของครูมีการใช้ Social media ในการทำ Coursework ขณะที่คณาจารย์ในระดับอุดมศึกษาในปัจจุบัน มีการใช้มากถึง 80%
Smart Classroom
RSU Smart Classroom Objective เพื่อให้มีการใช้งานอุปกรณ์ Smart e-Board ร่วมกับ Tablet ให้เกิด ประโยชน์อย่างสูงสุด เพื่อเป็นช่องทางการเรียนรู้การใช้งานจากอุปกรณ์ที่มีอยู่ ทำให้เกิด นวัตกรรมการเรียนการสอนใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์กับผู้เรียน วัตถุประสงค์ของโครงการ
Prepare Hardware Software Peopleware Learning Plan Smart e-Board Tablet Network Software Classroom Management Apps Attendance Peopleware Teacher & Staff Learning Plan วัตถุประสงค์ เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้สอน และบุคลกรที่เกี่ยวข้อง การวางแผนปรับปรุงแผนการสอน รูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม การประเมิน เพื่อปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยี และระบบให้เหมาะสม ปรับปรุงรูปแบบการเรียนการสอน
Component of Smart Classroom
Interactive e-Board
สถานที่ติดตั้ง Samsung Smart Board อาคาร คณะ / หน่วยงาน จำนวน 1 สำนักงานหน่วยงานต่าง ๆ 2 คณะเศรษฐศาสตร์, คณะบริหารธุรกิจ, วิทยาลัยนวัตกรรมสังคม 3 คณะศิลปศาสตร์, คณะนิติศาสตร์ 4 คณะเภสัชศาสตร์, คณะวิทยาศาสตร์ 5 คณะเทคโนโลยีชีวภาพ, วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์, RSU Cyber U 10 วิทยาลัยดนตรี 11 คณะอุตสาหกรรมท่องเที่ยว, สถาบันภาษา, คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ 15 คณะนิเทศศาสตร์
Tablet for Student
Network
Software Console Classroom Management
ฝึกอบรมการใช้งาน จัดอบรมการใช้งาน Interactive e-Board และ Tablet ผู้เข้าอบรม อาจารย์ และ เจ้าหน้าที่ที่สนใจ หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลเช่น ศสพ. และ ฝ่ายเน็ทเวิร์ค เข้าร่วมอบรม ในระดับที่ละเอียดมากกว่าผู้ใช้งานทั่วไปเนื่องจากต้องรับผิดชอบดูแล
ฝึกอบรมการใช้งาน
แผนการประยุกต์ใช้ วิชาธรรมาธิปไตย 4,000 คน การเช็คชื่อเข้าเรียน ระบบ infrastructure Application รูปแบบการเรียนการสอนแบบ Paper less ใช้ Galaxy Note 10.1 Tablet eBook + YouTube Google App VDO clip presentation email@rsu
การสำรวจการใช้งาน
Conclusion ปัญหาและอุปสรรค แนวทางในอนาคต ข้อจำกัดของขนาดหน้าจอ ความซับซ้อนของระบบ และเทคโนโลยี ระบบโครงสร้างพื้นฐาน แนวทางในอนาคต รูปแบบการเรียนการสอน ต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระบบโครงสร้างพื้นฐาน อาทิ สภาพห้องเรียน wifi และระบบซอฟแวร์ที่เกี่ยวข้อง