 หนังสือเล่มนี้มาจากงานวิจัยกว่าเก้าปีของ ผู้เขียนทั้งสอง โดยในปี 2002 ผู้เขียนทั้งคู่ตั้ง คำถามสำคัญขึ้นมา ว่า ทำไมบริษัทบางบริษัท ถึงได้ประสบความสำเร็จในสภาวะแวดล้อมที่มี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จาก forward ไม่รู้ที่มา
Advertisements

ลักษณะของเลขาบริหารที่เหมาะสม
Introduction to Probability เอกสารประกอบการเรียนการสอน วิชา ความน่าจะเป็นเบื้องต้น เรื่อง ความน่าจะเป็นเบื้องต้น อ.สุวัฒน์ ศรีโยธี สาขาวิชาคณิตศาสตร์
ความเดิมจากตอนที่แล้ว
Are you a student ? Yes, I am or No , I’m not .
ทำวิจัยอย่างไรจึงจะมีความสุข
Beautiful Quotes.
ประโยคใจความสำคัญ ประโยคที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดในย่อหน้านั้น
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
Introduction Newsgroups Newsgroup Names Major Newsgroup Categories Newsreaders Reading Newsgroup Articles Posting Articles Cross - Posting.
Programs of the Intel® Education Initiative are funded by the Intel Foundation and Intel. Copyright © 2007, Intel Corporation. All rights reserved. Intel,
พัฒนาบุคลากร (Human Resources Development)
การพัฒนาการปิด การเจรจาต่อรอง
กำลังใจ เพื่อ กันและกัน.
อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข
“ตั้งโจทย์ตั้งเป้า เข้าถึงหลักชัย” คิดเชิงบุก (Proactive Thinking)
องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง High Performance Organization
THE ANT PHILOSOPHY : ปรัชญาของมด
เกณฑ์ (gain!?!)หมวด 7.
ข้อแตกต่างระหว่าง กับ ผู้ชนะ ผู้แพ้.
บทที่ 16 การใช้ข้อมูล ข่าวสาร ของ ผู้บริหาร จากงานเขียนตั้งแต่ข้อ 1-15 ผู้อ่าน คงจะได้ตระหนักถึงคุณค่าของ ข่าวสาร ก็น่าเชื่อได้ว่าหรือตั้ง สมมุติฐานได้ว่า.
Chapter 2 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
การนำเสนอหนังสือประกอบการสอนวิชาทักษะการเรียนรู้ (HUM100)
ประสบการณ์และคุณค่าแห่งการทำงานร่วมกัน
...คนที่ไม่เคยทำผิด คือคนที่ไม่เคยทำอะไรเลย...
วัตถุประสงค์ของการศึกษาด้วยกรณีศึกษา
Effecting Successful change management initiatives
การพัฒนาองค์กรด้วยนวัตกรรม ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน
ใจที่ไม่เปิดเผื่อรับฟัง มองไม่เห็นซึ่งหนทางการพัฒนา                                                                                                                                                                   
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
Benchmarking.
ภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการ ENGLISH FOR THE WORKPLACE
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
ทำดีไม่ขึ้น ทำให้มากขึ้น
มาจากการนับพระพรของตน ไม่ใช่นับเงินสด
ความล้มเหลวที่ซื่อสัตย์ดีกว่าความสำเร็จที่คดโกง
ข้าพเจ้าเชื่อ A Birth Certificate shows that we were born
สถานประกอบการสร้างเสริมสุขภาพ
Good Practice (for Quality Improvement)
การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์
วิชา การเป็นผู้ประกอบการและการลงทุนทางธุรกิจ
กระบวนการบริหารและการคิดเชิงกลยุทธ์
สรุปที่เรียนมา วิเคราะห์การบ้านงานกลุ่ม
ครั้งที่ 2 วันที่ 7 มิถุนายน 2556
การนำ การคิด แบบหญิงยุคใหม่
.•* •. THE ANT PHILOSOPHY .• * •.
Developing our strategy Ten questions that need to be answered.
เกาชีวิต ดำรงค์ วงษ์โชติปิ่นทอง.
กระบวนการวิจัย Process of Research
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
จิตวิทยาสำหรับครู : การจัดการชั้นเรียน
Educational Standards and Quality Assurance ผศ.ดร.ชัยยุทธ ศิริสุทธิ์
การเป็นเจ้าของธุรกิจ  ไม่เซ๊กซี่ เหมือนที่คิด  คนที่จะเป็นได้ต้อง มีความหลงไหลในโครงการที่ทำ กระหาย ที่จะเป็นเจ้าของธุรกิจ ชอบคิดใหม่ ทำใหม่ มีปัญญา.
The McKinsey Way.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
บทที่ 5 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs
ครูรุจิรา ทับศรีนวล “ATHENS”. “ATHENS” สามารถพูดและเขียนบรรยาย ลักษณะต่างๆ ของเมืองได้
การประเมินโครงการ (Project Evaluation)
ภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปึที่ 4 Grammar & Reading ครูรุจิรา ทับศรีนวล.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 5
กลยุทธ์การทดสอบซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

 หนังสือเล่มนี้มาจากงานวิจัยกว่าเก้าปีของ ผู้เขียนทั้งสอง โดยในปี 2002 ผู้เขียนทั้งคู่ตั้ง คำถามสำคัญขึ้นมา ว่า ทำไมบริษัทบางบริษัท ถึงได้ประสบความสำเร็จในสภาวะแวดล้อมที่มี การเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ในขณะที่บริษัท อื่นที่มีรูปแบบธุรกิจ กลยุทธ์ แนวทางการบริหาร ในลักษณะเดียวกันถึงได้ประสบความล้มเหลว

 ในหนังสือเล่มนี้ผู้เขียนทั้งสองเรียกบริษัทที่ ประสบความสำเร็จท่ามกลางสภาวะแวดล้อมที่ เปลี่ยนแปลงอย่างมากมายและรุนแรง ว่า พวก 10X ซึ่งที่มาของชื่อดังกล่าวก็เนื่องจากบริษัท เหล่านี้ ( มีทั้งหมด 7 บริษัทที่ผ่านเกณฑ์จาก ทั้งหมด 20,400 บริษัทที่ทำการศึกษาครับ ) ต่าง มีผลประกอบการและการเติบโตที่สูงกว่า ค่าเฉลี่ยของอุตสาหกรรมตนเองอย่างน้อย 10 เท่า  กลุ่ม 10X ในการศึกษานี้ :  :Amgen, Biomet, Intel, Microsoft, Progressive Insurance, Southwest Airlines, Stryker

 Three basic tests: The enterprise sustained truly spectacular results for an era of 15+ years relative to the general stock market and relative to its industry. The enterprise achieved these results in a particularly turbulent environment, full of events that were uncontrollable, fast-moving, uncertain, and potentially harmful. The enterprise began its rise to greatness from a position of vulnerability, being young and/or small at the start of its 10X journey.

 Successful leaders in a turbulent world are bold, risk-seeking visionaries  Innovation distinguishes 10X companies in a fast-moving, uncertain and chaotic world  A threat-filled world favours the speedy; you are either the quick or the dead  Radical change on the outside requires radical change on the inside  Great enterprises with 10X success have a lot more good luck But 10Xers havn’t

 They’re not more creative  They’re not more visionary  They’re not more charismatic  They’re not more ambitious  They’re not more blessed by luck  They’re not more risk seeking  They’re not more heroic  They’re not more prone to making big, bold moves

 Fanatical Discipline  Empirical Creativity  Productive Paranoia  Level 5 ambition

Fanaical Disciplin e Productiv e Paranoid Level 5 ambition Empirical Creativity

 Fanatical Discipline  20 Mile March  ตัวอย่างของ 10X บริษัทหนึ่ง ก็คือ สายการ บิน Southwest ครับ ที่ในปี 1996 อุตสาหกรรมการบินมีการเติบโตอย่างมาก มี เมืองกว่า 100 เมืองที่ต้องการให้ Southwest บินไปลง แต่สุดท้ายแล้วในปีนั้น Southwest ได้เปิดเส้นทางการบินในเมืองแค่ 4 เมืองเอง  Empirical Creativity  Bullets then cannonball  Ex. Apple Rebirth

 Productive Paranoia 1: Build cash reserves and buffers – oxygen canisters –to prepare for unexpected events and bad luck before they happen. Southwest Airline = สำรองเงินไว้ ทำให้ไม่ขาดทุน ไม่ ลดเที่ยวบิน หลังเกิด 11/9  Productive Paranoia 2: Bounding risk: – Death Line risk, asymmetric risk, and uncontrollable risk – and manage time- based risk.

 Productive Paranoia 3: Zoom out, then zoom in, remaining hyper-vigilant to sense changing conditions and respond effectively  Zoom Out Sense a change in conditions. Assess the time frame: How much time before the risk profile changes? Assess with rigor: Do the new conditions call for disrupting plans? If so, how?  Zoom In Focus on supreme execution of plans and objectives.

 10Xers channel their ego and intensity into something larger and more enduring than themselves.  They’re ambitious, for a purpose beyond themselves, Be it building a great company, Changing the world, or Achieving some great object that’s ultimately not about them.

 Ex. Microsoft , south west airline  There are two healthy approaches to amending the SMaC recipe:  1. Exercising empirical creativity, which is more internally driven, and  2. Exercising productive paranoia, which is more externally focused.  The first involves firing bullets to discover and test a new practice before making it part of the recipe.  The second employs the discipline to zoom out to perceive and assess a change in conditions, then to zoom in to implement amendments as needed.

 องค์กรที่ประสบความสำเร็จยืนยงท่ามกลาง กระแสแห่งการเปลี่ยนแปลง มีโชคดีหรือร้าย มากกว่าหรือน้อยกว่าองค์กรอื่นหรือไม่ และ โชค มีส่วนทำให้เขาประสบความสำเร็จเท่าไร  ทีมงานนักวิจัยเริ่มให้คำจำกัดความว่าโชคที่จะ ศึกษา คืออะไร และสรุปว่าต้องมีลักษณะเข้าข่าย 3 ประเด็น คือ  1. เป็นเหตุการณ์ที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของเรา เขามาเอง ไม่ว่าจะขอหรือไม่  2. เป็นประเด็นที่สามารถก่อให้เกิดผลลัพธ์สำคัญ นั่นคือ เป็นเรื่องใหญ่ ไม่หยุมหยิม  3. ไม่สามารถคาดเดาได้ว่าจะเกิดหรือไม่เกิด หรือ เกิดเมื่อไร

 จากนั้น ทีมงานได้ติดตามและศึกษาข้อมูลขององค์กรต่างๆ หลากหลาย ตลอด 9 ปี เพื่อรวบรวมประเด็น และวิเคราะห์ว่า แต่ละองค์กรที่ประสบความสำเร็จและคู่แข่งที่สำเร็จน้อยกว่า มี โชคทั้งดีและร้าย มากน้อยต่างกันอย่างไร  ผลปรากฏว่า หลังจากประเมินทั้งในแง่จำนวน และคุณภาพ ของ “ โชค ” ที่แต่ละองค์กรและคู่แข่งประสบ เขาพบว่า  ทั้งองค์กรที่ประสบความสำเร็จ และองค์กรที่ไม่สำเร็จ เท่า ต่างมีจำนวนโชคทั้งดีและร้ายคล้ายกันมาก มิได้มี ใครได้เปรียบเสียเปรียบกันอย่างมีนัยสำคัญแต่ประการ ใด  แต่สิ่งที่ทีมงานวิจัยค้นพบและฟันธงว่าสำคัญกว่าคือ แม้มีโชค ดีและร้ายคล้ายๆ กัน  องค์กรที่ประสบความสำเร็จ สามารถเก็บเกี่ยวผลลัพธ์จากโชค ได้อย่างมีประสิทธิภาพกว่าใครต่างหาก มิใช่เป็นเพราะมีโชค มากกว่า  ใคร  อาจารย์ Collins เรียกมุมมองนี้ว่า ROL- Return on Luck หรือ ผลตอบแทนจากโชค

 เมื่อโชคลอยมา จะเกิด ROL 4 รูปแบบคือ  1. เก็บเกี่ยวได้ เมื่อมีโชคดี และเราสามารถเก็บเกี่ยวประโยชน์ได้เต็มที่ เพราะเรามีความพร้อม มาปุ๊บ ได้ปั๊บ จับได้เต็มๆ  2. พลาดโอกาส มีโชคดีแต่เราพลาด ไม่ได้ใช้โอกาสอย่างน่าเสียดาย อาจ เป็นเพราะไม่เห็น เลยปล่อยให้เขาลอยผ่านไป หรือได้มา ก็ใช้ค่าไม่เป็น  3. ซวย มีโชคร้ายกระหน่ำ ซ้ำเติม เป็นภัย โดยเราไม่ได้ตั้งตัว มิได้ เตรียมพร้อม พอโชคร้ายย่างกรายเข้าใกล้ จึงรับมือไม่ไหว ได้แต่คร่ำครวญว่า ทำไมต้องเป็นฉัน  4. เอาอยู่ มีโชคร้ายแต่เรากล้าสู้ ลองดูกันสักตั้ง แบบไม่นั่งดูดาย หากสู้ไม่ ไหว ก็ฉลาดและมีหนทางที่จะถอยห่างทันท่วงที แต่แม้บางครั้งแพ้ ก็ไม่ตี โพยตีพาย ส่ายหน้าฟาดหาง โดยเห็นประโยชน์จากสถานการณ์ ทำตัวให้ได้ เหมือนบุคคลตัวอย่าง เช่น คุณกฤษณะ ละไล “ มนุษย์ล้อ ” พิธีกรที่เด่น แตกต่าง เพราะความพิการ  ผลการศึกษาชี้ว่า องค์กรที่ประสบความสำเร็จ มีพฤติกรรมตามข้อ 1 และ 4 กล่าวคือ สามารถใช้ทั้งโชคดีและโชคร้ายให้ได้ประโยชน์สูงสุด ทั้งนี้เป็น เพราะเขาเตรียมความพร้อม ซ้อมรับมือกับเรื่อง “ บังเอิญ ” ที่เขารู้ว่าอย่างไรก็ ต้องเกิด เพียงแต่ไม่รู้ว่าเมื่อไร จึงไม่เคยประมาท เมื่อพร้อมรับ จึงมั่นคง ไม่ หวั่นไหว ไม่วอกแวกไม่ว่าจะได้โชคดีหรือร้าย ก็สามารถใช้สติและความ พร้อมน้อมนำ ไขว่คว้าโชคที่ลอยมา เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ต่อไป ไม่เสีย ของ  อาจารย์ Jim Collins สรุปการวิจัยว่า เราจะอยู่หรือจะไป จะประสบความสำเร็จหรือไม่ ขึ้นกับว่า เราทำอะไรกับโลก มากกว่า โลกทำอะไรกับเรา ความสำเร็จ และ Return on Luck สร้างได้ ไม่บังเอิญ ครับ