การบริหารยาที่มี ระยะห่างการบริหารยามากกว่า 24 ชั่วโมง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

การคำนวณกระแสเงินสด คำนวณกระแสเงินสดเพื่อใช้ประเมินโครงการลงทุน (Capital budgeting)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
บทที่ 3 การเปลี่ยนแปลงในส่วนของ ผู้เป็นหุ้นส่วน
ค่าสมัครเพื่อร่วมธุรกิจ 200 บาท สิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ
ฐานข้อมูลทะเบียนที่มีอยู่เดิม ทะเบียนที่ขึ้นต้นด้วยเลขต่อไปนี้ได้นำออกจากระบบไปแล้ว จะไม่สามารถส่งข้อมูล เบิกเครมได้ 00xxx xxxxx xxx = นำออกจากระบบ 1xxxxx.
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
ห้องประชุม กรมชลประทานที่ 11 ปากเกร็ด นนทบุรี
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
เวลาทำงาน เวลาพัก วันหยุด วันลา
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
กินอยู่อย่างพอเพียงเพื่อสุขภาพที่ดี
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
การตั้งเบิกเพื่อจ่ายบุคคลภายนอก-อ้างอิงใบสั่งซื้อ/สัญญา
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การกำหนดอัตราเงินเดือนสำหรับคุณวุฒิที่ ก.พ.รับรอง
การประเมินผลผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่สำคัญ ( พ. ศ. ๒๕๕๓ ) ๑. ความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพ การให้บริการของหน่วยงานระดับ Front Office ( ๓. ๑. ๑. ๑ ) ๒. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการ.
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.03 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
สรุปผลการดำเนินงานบริหารเวชภัณฑ์ (ตามรายงาน ADMIN)
การจัดเก็บข้อมูลภูมิปัญญา
หลักเกณฑ์การคิดคะแนนประเมินผล
การจัดทำงบการเงินประจำปี ประกอบด้วย.
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศการท่าเรือแห่งประเทศไทย เรื่อง การเรียกเก็บค่าธรรมเนียมพิเศษการใช้ น้ำมันเชื้อเพลิง ของการให้บริการตู้สินค้า.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดอุดรธานี วันที่ 20 กันยายน 2553
แนวทางการให้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอชไอวีและทารกในกรณีต่างๆ
การดำเนินงานแก้ไขปัญหา การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ห้องคลอด
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
โครงการลดระยะเวลารอคอยยากลับบ้าน งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน
สรุปเรื่องราว การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อ การปฏิรูปการศึกษา
การทำงานกับวัน/เวลา ในภาษา php
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การประชุมเตรียมความพร้อมการปฏิบัติงาน ในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ วันศุกร์ที่ 5 กันยายน 2557 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหานคร.
การปรับเวลาของการบริหารยาให้เข้ากับรอบเวลาให้ยาปกติ
PHP: [7] ฟังก์ชั่นเกี่ยวกับ วัน/เวลา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ครั้งที่ 1/2556
การลงข้อมูลแผนการสอน
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
21/02/54 Ambulatory care.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Page 1 สรุปการรายงานผล การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ ต่างๆ  เดือนตุลาคม 2554  เดือน พฤศจิกายน 2554  เดือนธันวาคม 2554.
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย Iodize oil capsul ประเด็นนำเสนอ.
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การตรวจสอบและปรับปรุงรายการบัญชี
การดำเนินการ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ GFMIS
มติ ครม. เมื่อวันที่ 30 ธ.ค. 57 และ เมื่อวันที่ 18 ก.พ.58
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย 1. โครงการควบคุมป้องกันภาวะขาดสาร ไอโอดีนด้วย Iodize oil capsul ประเด็นนำเสนอ.
เรื่อง ปรับแก้ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1/2554
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
กรณีศึกษา 2 เด็กชายไทย อายุ 3 ปี 3 เดือน น้ำหนัก 14 กก. รับรักษาใน รพช
วิธีปฏิบัติทางบัญชี 1. การรับบริจาคเงินสด
การพิจารณากลุ่มเลข และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ประกอบการ ลงทะเบียนในกองทุน
ประธานคณะทำงานเตรียมความพร้อมการดำเนินงาน
การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.
การประเมินส่วนราชการ
บทที่ 2 การเริ่มต้นกิจการใหม่และการซื้อกิจการ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
บทที่ 10 รายงานการเงินสำหรับกิจการที่ไม่หวังผลกำไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารยาที่มี ระยะห่างการบริหารยามากกว่า 24 ชั่วโมง ภญ.วริศรา จินาทองไทย งานเภสัชกรรมคลินิก กลุ่มงานเภสัชกรรม 30 กันยายน พ.ศ2557.

Outline ความหมายของการบริหารยา แนวทางปฏิบัติของการบริหารยา

ความหมายของการบริหารยา คำสั่งการบริหารยาที่มีระยะห่างการบริหารยา (interval) มากกว่า 24 ชั่วโมง คำสั่งการบริหารยา ความหมาย ทุก 36 ชั่วโมง หรือ q 36 hr ให้บริหารยาเมื่อครบ 36 ชั่วโมง ทุก 48 ชั่วโมง หรือ q 48 hr (ทุก 2 วัน) ให้บริหารยาเมื่อครบ 48 ชั่วโมง ทุก 72 ชั่วโมง หรือ q 72 hr (ทุก 3 วัน) ให้บริหารยาเมื่อครบ 72 ชั่วโมง ทุก 96 ชั่วโมง หรือ q 96 hr (ทุก 4 วัน) ให้บริหารยาเมื่อครบ 96 ชั่วโมง ทุก 120 ชั่วโมง หรือ q 120 hr (ทุก 5 วัน) ให้บริหารยาเมื่อครบ 120 ชั่วโมง ทุก 168 ชั่วโมง หรือ q 168 hr (ทุก 7 วัน หรือ 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ) ให้บริหารยาเมื่อครบ 168 ชั่วโมง

ยา/กลุ่มยาที่มีการบริหารยามากกว่า 24 ชั่วโมง กลุ่ม aminoglycoside: amikacin, gentamicin, netilmicin ยา colistine ยา vancomycin

แนวทางปฏิบัติของการบริหารยา ยกตัวอย่างคำสั่งบริหารยาทุก 36 ชั่วโมง Rx 30/9/57 gentamicin 350 mg drip in 1 hr q 36 hr  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 01.00-12.00 น. บริหารยาเวลา 06.00 น. ในวันที่มีคำสั่ง และ บริหารยาเวลา 18.00 น. ของวันถัดไป  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 13.00-24.00 น. บริหารยาเวลา 18.00 น. ในวันที่มีคำสั่ง และ บริหารยาเวลา 06.00 น. ของวันถัดไป

การบันทึก administration medication record: MAR ยา เวลา วันที่ 30/9 1/10 2/10 3/10 4/10 5/10 6/10 gentamicin 350 mg drip in 1 hr q 36 hr 06.00 (สั่งยา 01.00-12.00) / Real time X เมื่อครบ 36 hr 18.00 / บริหารยาเมื่อครบ 36 ชั่วโมง, x ไม่มีการบริหารยา

การบันทึก administration medication record: MAR ยา เวลา วันที่ 30/9 1/10 2/10 3/10 4/10 5/10 6/10 gentamicin 350 mg drip in 1 hr q 36 hr 06.00 x / เมื่อครบ 36 hr 18.00 (สั่งยา 13.00-24.00) Real time / บริหารยาเมื่อครบ 36 ชั่วโมง, x ไม่มีการบริหารยา

แนวทางปฏิบัติของการบริหารยา ยกตัวอย่างคำสั่งบริหารยาทุก 48 ชั่วโมง Rx 30/9/57 vancomycin 750 mg+NSS 200 mL drip in 2 hr q 48 hr  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 01.00-12.00 น. บริหารยาเข้ารอบเวลา 06.00 น. ในวันที่มีคำสั่ง  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 13.00-24.00 น. บริหารยาเวลา 18.00 น. ในวันที่มีคำสั่ง

การบันทึก administration medication record: MAR ยา เวลา วันที่ 30/9 1/10 2/10 3/10 4/10 5/10 6/10 vancomycin 750mg+NSS 200 mL drip in 2 hr q 48 hr 06.00 (สั่งยา 01.00-12.00) / Real time x เมื่อครบ 48 hr 18.00 (สั่งยา 13.00-24.00) / บริหารยาเมื่อครบ 48 ชั่วโมง, x ไม่มีการบริหารยา

แนวทางปฏิบัติของการบริหารยา ยกตัวอย่างคำสั่งบริหารยาทุก 72 ชั่วโมง Rx 30/9/57 vancomycin 750 mg+NSS 200 mL drip in 2 hr q 72 hr  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 01.00-12.00 น. บริหารยาเข้ารอบเวลา 06.00 น. ในวันที่มีคำสั่ง  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 13.00-24.00 น. บริหารยาเวลา 18.00 น. ในวันที่มีคำสั่ง

การบันทึก administration medication record: MAR ยา เวลา วันที่ 30/9 1/10 2/10 3/10 4/10 5/10 6/10 vancomycin 750mg+NSS 200 mL drip in 2 hr q 72 hr 06.00 (สั่งยา 01.00-12.00) / Real time x เมื่อครบ 72 hr 18.00 (สั่งยา 13.00-24.00) / บริหารยาเมื่อครบ 72 ชั่วโมง, x ไม่มีการบริหารยา

แนวทางปฏิบัติของการบริหารยา ยกตัวอย่างคำสั่งบริหารยาทุก 96 ชั่วโมง Rx 30/9/57 vancomycin 750 mg+NSS 200 mL drip in 2 hr q 96 hr  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 01.00-12.00 น. บริหารยาเข้ารอบเวลา 06.00 น. ในวันที่มีคำสั่ง  กรณีสั่งใช้ยาในช่วงเวลา 13.00-24.00 น. บริหารยาเวลา 18.00 น. ในวันที่มีคำสั่ง

การบันทึก administration medication record: MAR ยา เวลา วันที่ 30/9 1/10 2/10 3/10 4/10 5/10 6/10 vancomycin 750mg+NSS 200 mL drip in 2 hr q 96 hr 06.00 (สั่งยา 01.00-12.00) / Real time x เมื่อครบ 96 hr X 18.00 (สั่งยา 13.00-24.00) / บริหารยาเมื่อครบ 96 ชั่วโมง, x ไม่มีการบริหารยา

สรุปรอบตารางการบริหารยา กรณีสั่งใช้ยาช่วงเวลา 01.00-12.00 น. ( / มีการบริหารยา, x ไม่มีการบริหารยา) Interval เวลา Day 0 Day 1 Day 2 Day 3 Day 4 Day 5 Day 6 Day 7 Q 36 hr 06.00 / (real) x / 18.00 Q 48 hr Q 72 hr Q 96 hr Q 120 hr Q 168 hr

สรุปรอบตารางการบริหารยา กรณีสั่งใช้ยาช่วงเวลา 13.00-24.00 น. ( / มีการบริหารยา, x ไม่มีการบริหารยา) Interval เวลา Day 0 Day 1 Day 2 Day 3 Day 4 Day 5 Day 6 Day 7 Q 36 hr 06.00 x / X 18.00 / (real) Q 48 hr Q 72 hr Q 96 hr Q 120 hr Q 168 hr

ขอบคุณค่ะ