CQI เวชระเบียนผู้ป่วยใน หาย วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 2. สามารถค้นหาเวชระเบียน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

การนำเสนอกิจกรรมคุณภาพ งานสารสนเทศ รพ.บึงกาฬ
 ขั้นตอนการล็อกอินเข้าใช้  ขั้นตอนการควบคุมเครื่อง คอมพิวเตอร์  ขั้นตอนการต่อเวลา  ขั้นตอนการค้นหาและลงทะเบียน สมาชิกใหม่  ขั้นตอนการค้นหาและลงทะเบียน.
โครงการ พัฒนาการจัดเก็บและค้นหาเอกสาร ส่วนบริหารกิจการจัตุรัสจามจุรี
ระบบการจัดเก็บไฟล์อิเลคทรอนิกส์
บทที่ 12 ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
กิจกรรมที่ 5 การประมวลผลข้อมูล
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
The Development of Document Management System with RDF
สำนักงานตรวจสอบภายใน
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปีการศึกษา 2555
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม
ระบบฐานข้อมูล ข้อมูลมีความสำคัญมากต่อองค์การ ดังนั้นจะต้องมีการจัดเก็บที่เป็นระบบ สามารถค้นหาได้ง่าย เพื่อที่นำมาใช้ให้ทันเวลา ในการตัดสินใจของผู้บริหาร.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเทศ - ๑
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
Patron Info Application
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ระบบเช่าหนังสือ รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
การพัฒนาโปรแกรมระบบสารสนเทศสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
งานข้อมูลข่าวสารฝ่ายบริหารทั่วไป โรงพยาบาลเชียงรายประชา นุเคราะห์ 1.
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
กระบวนการทำงาน งานเวชระเบียนและสถิติ ศูนย์มะเร็งอุดรธานี
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ข้อมูลและสารสนเทศ.
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน ระบบงานการเงิน
ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ
คู่มือการใช้งานโปรแกรมระบบนัดพบตลาดงานเชิงคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2557
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
Back Office: หัวใจของระบบทั้งหมดในโรงพยาบาล
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
สรุปประเด็นการเยี่ยมสำรวจ โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 03. ข้อมูลการให้บริการ
น.ส.วีรยาภรณ์ รัตนไพบูลย์ sc18c
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 05. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน
ทำอย่างไรให้ยั่งยืน Referral System : นพ.ธานินทร์ โลเกศกระวี
ผู้เข้าร่วมโครงการ Site Visit ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
เรื่องเพื่อพิจารณาจากคณะ กรรมการบริหารจัดการสมัชชา สุขภาพจังหวัด วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗.
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยให้การทำงานถูกต้อง และแม่นยำ จัดทำโดย ด. ช. นพฤทธิ์ มายอง เลขที่ 21 ด. ช. พชร อำพนพันธุ์ เลขที่ 23.
บทบาทของคอมพิวเตอร์.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง (CQI )
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
นางมลิวรรณ สมบุญโสด ผู้วิจัย
แบบประเมินความเสี่ยงและการควบคุม
วิชาปฏิบัติหลักการและเทคนิคการพยาบาล
Effective Filling System
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CQI เวชระเบียนผู้ป่วยใน หาย

วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 2. สามารถค้นหาเวชระเบียน ผู้ป่วยในได้ภายใน 15 นาที

สาเหตุ 1. มีขั้นตอนการส่งต่อหลายขั้นตอน 2. ไม่มีทะเบียนควบคุมการส่งต่อ ทั้งหมด 3. ห้องเก็บเวชระเบียนคับแคบ

การแก้ไข 1. กำหนดให้ ward ส่ง chart มาให้ห้องบัตรหลัง จากผู้ป่วยถูกจำหน่ายโดยห้องบัตรจะส่งให้แพทย์ สรุปเอง 2. ทำทะเบียนควบคุมการส่งต่อทั้งหมด 3. ย้ายเวชระเบียนที่มีอายุมากกว่า 5 ปี ไปเก็บไว้ ที่ห้องเก็บเวชระเบียนด้านล่าง

ผลลัพธ์ 1. ไม่สามารถค้นหาเวชระเบียนได้ภายใน 15 นาที 2. ไม่พบเวชระเบียนสูญหาย แต่ยังพบปัญหา คือ การตรวจสอบว่าเวชระเบียนอยู่ที่ใดใช้ เวลานานและไม่สะดวก

การพัฒนาต่อเนื่อง ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารจัดการ โดยการรับส่งแฟ้มผ่านเมนูรับส่งแฟ้มเวชระเบียน และระบบยืมคืนแฟ้มเวชระเบียนในระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

แนวทางการแก้ไข 1. พัฒนาระบบส่งต่อเวชระเบียนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ 2. นำระบบสแกนเอกสารมาใช้ในการสแกนเอกสาร เวชระเบียน 3. พัฒนาระบบค้นเวชระเบียนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ 4. พัฒนาระบบยืมคืนแฟ้มเวชระเบียนผ่านระบบ คอมพิวเตอร์

ผลลัพธ์ 1. สามารถดูประวัติในแฟ้มเวชระเบียนผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ได้ทันที โดยผ่านระบบความปลอดภัย ด้านข้อมูล 2. สามารถตรวจสอบได้ทันทีว่าขณะนี้แฟ้มเวชระเบียนตกค้าง อยู่ที่ไหน 3. สามารถจัดเก็บแฟ้มเวชระเบียนในระบบฐานข้อมูลได้ มากกว่า 20 ปี