องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง “ทบทวนการสรรหาบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ”
Advertisements

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เอกสารเคมี Chemistry Literature
วิชาการโปรแกรมสำนักงาน และสารสนเทศ ง๒๑๒๔๑ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ จำนวน 1 หน่วยกิต ผู้สอน นางสาวพิมพ์พร เพ็ชอินทร.
Information Technology Code (21241) Teacher name Ms pimpon petin
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของ พืชวงศ์ขิงในภูวังงาม จังหวัดอุดรธานี
มาตรฐานวิชาชีพครู.
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการใช้ภาษาพัฒนาความคิด
**************************************************
กระบวนการทำแผนการจัดการเรียนรู้
การตรวจประเมินเชิงประจักษ์ ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ
รายละเอียด แผ่น CD Folder 1 KM เอกสารชุดความรู้ สตน. ๒๕๕๓ รวม ๑๓ บท และ เอกสารอ้างอิง ( ๓๐๙ หน้า ) Folder 2 KM ชุดนำเสนอ ( Power Point.
การเขียนรายงานการวิจัย
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ฝ่ายสำรวจทำแผนที่ทางพื้นดิน ๑๑ ส่วนสำรวจทำแผนที่ภาคพื้นดิน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี ๒ ๕ ๕ ๗.
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
แผนการจัดการเรียนรู้ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
๑. เป้าหมายการอบรม ๑. เป็นการจัดการฐานข้อมูลสู่ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Database Technology) ให้เกิดเอกภาพและทิศทางเดียวกัน ๒. เป็นการจัดการเครือข่ายฐานข้อมูลเทคโนโลยี
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
โดย “กลุ่มที่ ๒... ฉลองชัย ”
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
๔. ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา.
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
สรุปเนื้อหาสาระ ภูมิศาสตร์
การอ่านเชิงวิเคราะห์
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
การเขียน.
ด้านที่ ๓ ผลการดำเนินงาน
การเขียนรายงาน.
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
Worksheets for Workshop แบบฝึกปฏิบัติการ หลักสูตรการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้ และการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร สถาบันการเรียนรู้กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
๙. เปรียบเทียบข้อมูลที่สรุป (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๘)
การฟังเพลง.
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่าย
โดย ผศ.ดร.เสริมศิริ อัครพุฒิพันธ์
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
ชื่อเรื่องอะไรว่าไป ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
แผนการจัดการเรียนรู้
การเจริญเติบโตของหม้อข้าวหม้อแกงลิงที่ปลูกในวัสดุปลูกที่มีในท้องถิ่น
หน่วยที่ ๔ การเขียนรายงาน
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การนำเสนอสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การแต่งกายยืนเครื่องตัวนาง ประกอบการเรียนการสอน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี
Workshop วิชาการถ่ายทอดความรู้วิทยากร ตาม worksheet 1-5.
หน่วยที่ ๖ การเขียนประชาสัมพันธ์
หน่วยที่ ๗ การโฆษณา ความหมายของการโฆษณา
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
การเขียนโครงการ.
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
การปฏิบัติตามข้อกำหนดมาตรฐาน ASEAN GAP
แบบฝึกเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเลขเร็ว เรื่อง ทบทวนการคูณ และการหาร
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
การทัศนศึกษา.
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้ หลักการ รู้ชื่อ รู้ลักษณ์ รู้จัก ลำดับการเรียนรู้ : ๑. กำหนดพื้นที่ศึกษา ๒. สำรวจพรรณไม้ในพื้นที่ศึกษา ๓. ทำและติดป้ายรหัสประจำต้น ๔. ตั้งชื่อหรือสอบถามชื่อ และข้อมูลพรรณไม้ (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๑) ๕. ทำผังพื้นที่แสดงตำแหน่งพรรณไม้ ๖. ศึกษาและบันทึกลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (ก.๗-๐๐๓ หน้า๒-๘) 1

๗. บันทึกภาพหรือวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ ๘. ทำตัวอย่างพรรณไม้ (แห้ง ดอง เฉพาะส่วน) ๙. เปรียบเทียบข้อมูลกับเอกสาร (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๙-๑๐) ๑๐. จัดระบบข้อมูลทะเบียนพรรณไม้ (ก.๗-๐๐๕) ๑๑. ทำร่างป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์ ๑๒. ตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการ ๑๓.ทำป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์ 2

องค์ประกอบที่ ๒ การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน หลักการ “คลุกคลี เห็นคุณ สุนทรีย์” ลำดับการเรียนรู้ : ๑. ศึกษาข้อมูลจากผังพรรณไม้เดิมและศึกษาธรรมชาติของพรรณไม้ ๒. สำรวจ ศึกษา วิเคราะห์สภาพพื้นที่ ๓. พิจารณาสุนทรียภาพของพรรณไม้ ๔. กำหนดการใช้ประโยชน์ ในพื้นที่ ๕. กำหนดชนิดพรรณไม้ที่จะปลูก ๖. ทำผังภูมิทัศน์ ๗. จัดหาพรรณไม้ วัสดุเข้าปลูก ๘. การปลูก และดูแลรักษา ๙. ศึกษาคุณของพืชพรรณที่ปลูก ออกแบบบันทึกการเปลี่ยนแปลง 3

๑. การศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (ก.๗-๐๐๓) องค์ประกอบที่ ๓ การศึกษาข้อมูลด้านต่าง ๆ หลักการ วิเคราะห์ เห็นความต่าง รู้ความหลายหลาก ลำดับการเรียนรู้ : ๑. การศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน (ก.๗-๐๐๓) ๒. การศึกษาพืชที่สนใจ 4

องค์ประกอบที่ ๔ การรายงานผลการเรียนรู้ หลักการ รู้สาระ รู้สรุป รู้สื่อ หลักการ รู้สาระ รู้สรุป รู้สื่อ ลำดับการเรียนรู้ : ๑. รวบรวมผลการเรียนรู้ ๒. คัดแยกสาระสำคัญ และจัดให้เป็นหมวดหมู่ ๓. การสรุปเรียบเรียงสาระ ๔. เรียนรู้รูปแบบการเขียนรายงาน ๕. กำหนดรูปแบบการเขียนรายงาน ๖. เรียนรู้วิธีการรายงานผล ๗. กำหนดวิธีการรายงานผล

องค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา องค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา หลักการ นำองค์ความรู้ที่เป็นวิทยาการ เผยแพร่เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ ลำดับการเรียนรู้ : ๑. นำสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนบูรณาการสู่การเรียนการสอน ๒. การเผยแพร่องค์ความรู้ ๓. การจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ ๔. การใช้ การดูแลรักษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้

การเรียนรู้ธรรมชาติแห่งชีวิต หลักการ รู้การเปลี่ยนแปลง รู้ความแตกต่าง รู้ชีวิต ลำดับการเรียนรู้ : ๑. สัมผัสเรียนรู้วงจรชีวิตของชีวภาพ ๑.๑ ศึกษาด้านรูปลักษณ์ ได้ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงและความแตกต่างด้านรูปลักษณ์ ๑.๒ ศึกษาด้านคุณสมบัติ ได้ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงและความแตกต่างด้านคุณสมบัติ ๑.๓ ศึกษาด้านพฤติกรรม ได้ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงและความแตกต่างด้านพฤติกรรม ๒. เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงและความแตกต่าง ๒.๑ รูปลักษณ์กับรูปกายตน ๒.๒ คุณสมบัติกับสมรรถภาพของตน ๒.๓ พฤติกรรมกับจิตอารมณ์และพฤติกรรมของตน ๓. สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาธรรมชาติแห่งชีวิต ๔. สรุปแนวทางเพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต

การเรียนรู้สรรพสิ่งล้วนพันเกี่ยว หลักการ รู้สัมพันธ์ รู้ผูกพัน รู้ดุลยภาพ ลำดับการเรียนรู้ : ๑. รวบรวมองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ธรรมชาติแห่งชีวิต ๒. เรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยชีวภาพอื่นที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลัก ๒.๑ เรียนรู้ด้านรูปลักษณ์ คุณสมบัติ พฤติกรรม ๒.๒ สรุปผลการเรียนรู้ ๓. เรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยกายภาพ (ดิน น้ำ แสง อากาศ) ๓.๑ เรียนรู้ด้านรูปลักษณ์ คุณสมบัติ ๓.๒ สรุปผลการเรียนรู้ ๔. เรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยอื่นๆ (ปัจจัยประกอบ เช่น วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่) ๕. เรียนรู้ธรรมชาติของความพันเกี่ยวระหว่างปัจจัย ๕.๑ เรียนรู้ วิเคราะห์ให้เห็นความสัมพันธ์และสัมพันธภาพ ๕.๒ เรียนรู้ วิเคราะห์ให้เห็นความผูกพัน ๖. สรุปผลการเรียนรู้ ดุลยภาพของความพันเกี่ยว

๑. เรียนรู้การวิเคราะห์ศักยภาพของปัจจัยศึกษา การเรียนรู้ประโยชน์แท้แก่มหาชน หลักการ รู้ศักยภาพ รู้จินตนาการ รู้ประโยชน์ ลำดับการเรียนรู้ : ๑. เรียนรู้การวิเคราะห์ศักยภาพของปัจจัยศึกษา ๑.๑ พิจารณาศักยภาพด้านรูปลักษณ์ ๑.๒ วิเคราะห์ศักยภาพด้านคุณสมบัติ ๑.๓ จินตนาการศักยภาพด้านพฤติกรรม ๒. เรียนรู้ จินตนาการเห็นคุณของศักยภาพ ของปัจจัยศึกษา ๒.๑ จินตนาการจากการวิเคราะห์ศักยภาพ ๒.๒ เรียนรู้สรุปคุณของศักยภาพ ที่ได้จากจินตนาการ ๓. สรรค์สร้างวิธีการ ๓.๑ พิจารณาคุณที่เกิดจากจินตนาการ ๓.๒ สร้างแนวคิด แนวทาง วิธีการ ๔. สรุปผลการเรียนรู้ ประโยชน์แท้แก่มหาชน