การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับ ปวส การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับ ปวส.ปีที่ 1 แผนกคอมพิวเตอร์ รายวิชาปฏิบัติการคอมพิวเตอร์กราฟิกแอนนิเมชั่น โดยการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ STAD นายมงคล ธัญฤชุพงศ์
ที่มาและความสำคัญของปัญหา 1.การเรียนการสอนที่ไม่ได้ฝึกกระบวนการคิด และการแก้ปัญหาด้วยตนเอง 2.การเรียนการสอนที่ไม่ได้มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3.ผู้เรียนไม่กล้าแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากการเรียน และไม่เกิดปฏิสัมพันธ์ที่ดี 4.พัฒนากระบวนการเรียนการสอน ในรูปแบบต่าง ๆ ให้เกิดความหลากหลาย
วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาปฏิบัติการคอมพิวเตอร์กราฟิกแอนนิเมชั่น สมมติฐานการวิจัย การจัดการเรียนรู้แบบ STAD มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสูงขึ้น ในรายวิชาปฏิบัติการคอมพิวเตอร์กราฟิกแอนนิเมชั่น เรื่องการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Classic Tween
เครื่องมือในการวิจัย แบบเก็บค่าคะแนนฐาน (Base Score) แบบเก็บคะแนนการพัฒนาตนเอง (Improvement Point) ตารางเทียบค่าการคิดคะแนนพัฒนา แบบทดสอบย่อย แบบวัดผลท้ายหน่วยการเรียน
วิธีดำเนินการวิจัย ทดลอง ชี้แจง เก็บข้อมูลผลการเรียน เก็บค่าคะแนนฐาน ก่อนทดลอง ชี้แจง เก็บข้อมูลผลการเรียน เก็บค่าคะแนนฐาน ทดลอง แบ่งกลุ่ม เสนอบทเรียนตามเนื้อหา และดำเนินกิจกรรม ทดสอบย่อย หาค่าคะแนนการพัฒนา หลังทดลอง ทดสอบหลังกิจกรรม ทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เปรียบเทียบผลคะแนนทดสอบ
สรุปผล
เปรียบเทียบระดับผลคะแนน (%) 1 คะแนน 1 2 2 3 3 กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
เปรียบเทียบผู้ที่ผ่านการวัดผล (ร้อยละ 60) กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม
อภิปรายผล ผลการวิจัย พบว่านักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนการสอบวัดผลหลังจากร่วมกิจกรรมสูงกว่ากลุ่มควบคุม และเมื่อได้เปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม พบว่าจำนวนร้อยละของผู้ผ่านเกณฑ์การวัดผล ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม แสดงว่าการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ STAD ของนักศึกษาระดับ ปวส.ปีที่ 1 แผนกคอมพิวเตอร์ รายวิชาปฏิบัติการคอมพิวเตอร์กราฟิกแอนนิเมชั่น ช่วยให้นักศึกษามีการพัฒนาด้านผลการเรียนที่สูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ สมสวาท โพธิ์กฎ (2552 : 87) ได้ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
ขอบคุณครับ