การคำนวณการใช้พลังงานไฟฟ้า
อัตราค่าไฟฟ้า ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย ประเภทที่ 2 กิจการขนาดเล็ก ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่ ประเภทที่ 5 กิจการเฉพาะอย่าง ประเภทที่ 6 ส่วนราชการและองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร ประเภทที่ 7 สูบน้ำเพื่อการเกษตร ประเภทที่ 8 ผู้ใช้ไฟฟ้าชั่วคราว
ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย
ประเภทที่ 2 กิจการขนาดเล็ก ประเภทที่ 2 กิจการขนาดเล็ก
ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง ประเภทที่ 3 กิจการขนาดกลาง
ประเภทที่ 4 กิจการขนาดใหญ่
ประเภทที่ 5 กิจการเฉพาะอย่าง ประเภทที่ 5 กิจการเฉพาะอย่าง
ประเภทที่ 6 ส่วนราชการ และองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร
ค่าไฟฟ้า = (ค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด + ค่าพลังงานไฟฟ้า +Ft) x VAT 1. อัตราปกติ ค่าไฟฟ้า = (ค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด + ค่าพลังงานไฟฟ้า +Ft) x VAT 0.00น. 24.00น. kW kW = 196.26 บาท kWh = 2.7815 บาท
ค่าไฟฟ้า = (ค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด + ค่าพลังงานไฟฟ้า +Ft) x VAT 2. อัตรา TOU ค่าไฟฟ้า = (ค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด + ค่าพลังงานไฟฟ้า +Ft) x VAT OFF PEAK ON PEAK 22.00น. 0.00น. 24.00น. kW จันทร์-ศุกร์ (9.00-22.00น.) kW = 132.93 บาท kWh = 3.7731 บาท จันทร์-ศุกร์(22.00-9.00น.)และ เสาร์-อาทิตย์-วันหยุดทั้งวัน kW = 0 บาท kWh = 2.2695 บาท 9.00น.
ค่าไฟฟ้า = (ค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด + ค่าพลังงานไฟฟ้า +Ft) x VAT 3. อัตรา TOD ค่าไฟฟ้า = (ค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด + ค่าพลังงานไฟฟ้า +Ft) x VAT OFF PEAK PARTIAL PEAK ON PEAK 8.00น. 18.30น. 21.30น. 0.00น. 24.00น. kW kW = 285.05บาท PP - OP kW = 58.88 บาท kW = 0 บาท kWh = 2.7815 บาท
การคำนวณพลังงานไฟฟ้า kWh = kW x hour kW = W / 1000
กำลังไฟฟ้า (kW) / พลังงานไฟฟ้า (kWh) 8.00 น. 12.00 น. 13.00 น. 17.00 น. kW เวลา 22.00 น. ปั๊มน้ำ= 50 kW 350 kW 300 kW แสงสว่าง = 100 kW แอร์ = 200 kW ปั๊มน้ำ= 50 kW 18
การประหยัดพลังงาน ประสิทธิภาพ = 1 - Loss kWh = kW x hour Machine Input Output 100 % 70 % Loss 30 % ประสิทธิภาพ = 1 - Loss
จำนวนวันทีใช้ต่อเดือน กรณีศึกษา บ้านหลังหนึ่ง มีการใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ อุปกรณ์ไฟฟ้า ชั่วโมงใช้งานต่อวัน จำนวนวันทีใช้ต่อเดือน หมายเหตุ หลอดไส้ขนาด 100 W จำนวน 3 หลอด 1.5 20 หลอดฟลูออเรสเซนต์ 36 W จำนวน 5 หลอด (ใช้ร่วมกับ บัลลาสต์แกนเหล็กที่มีความสูญเสีย 10 W/ชุด) 8 30 โทรทัศน์สีจอแบนขนาด 21 นิ้ว จำนวน 2 เครื่อง 6 เครื่องปรับอากาศขนาด 18,000 Btu/h จำนวน 1 เครื่อง 10 คอมเพรสเซอร์ทำงาน 70 % เตารีดไอน้ำขนาดเล็ก จำนวน 1 เครื่อง 2 5 ฮีตเตอร์ทำงาน 50 % หม้อหุงข้าวไฟฟ้าขนาด 1.5 ลิตร จำนวน 1 เครื่อง 1 เครื่องซักผ้าแบบอัตโนมัติ ขนาด 6 กิโลกรัม จำนวน 1 เครื่อง
21
22
23
? ?? คำถาม กำหนดให้ค่าไฟฟ้าเฉลี่ยเท่ากับ 3 บาทต่อหน่วย บ้านหลังนี้จะต้องเสียค่าไฟฟ้าเดือนละกี่บาท บ้านหลังนี้สามารถลดค่าใช้จ่ายได้อย่างไรบ้าง บอกมาอย่างน้อย 3 วิธีการ
ชั่วโมงทีใช้ต่อเดือน พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ต่อเดือน (kWh) เฉลย อุปกรณ์ไฟฟ้า กำลังไฟฟ้า (วัตต์) จำนวน ชั่วโมงทีใช้ต่อเดือน พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ต่อเดือน (kWh) หลอดไส้ 100 3 30 9.00 หลอดฟลูออเรสเซนต์ 46 5 240 55.20 โทรทัศน์สีจอแบน 112 2 180 40.32 เครื่องปรับอากาศ 2,020 1 210 424.2 เตารีดไอน้ำ 1,325 6.63 หม้อหุงข้าวไฟฟ้า 530 15.90 เครื่องซักผ้าแบบอัตโนมัติ 380 20 7.60 รวมทั้งสิ้น 558.85
เฉลย บ้านหลังนี้จะต้องเสียค่าไฟฟ้าเดือนละ 558.85 kWh/เดือน x 3 บาท/kWh = 1,676 บาท/เดือน