ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
Advertisements

จุด ส่วนของเส้นตรง เส้นตรง รังสี มุม
บทที่ 7 การใช้ตัวอักษร สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษร ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
น้ำหนักแสงเงา.
2.5 Field of a sheet of charge
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
เทคนิคการถ่ายภาพ คณะกรรมการจัดการความรู้ กองกิจการนักศึกษา.
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
การเขียนผังงาน.
Rigid Body ตอน 2.
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การเรียนรู้โปรแกรมช่วยออกแบบ Solid Edge
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
องค์ประกอบ Graphic.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ส่วนที่ 1
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
ระนาบอ้างอิงและวิวช่วย (Reference Plane and Auxiliary View)
Points, Lines and Planes
จุด เส้น และระนาบ จุดเจาะระหว่างเส้นกับระนาบ
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
คู่มือการใช้การเขียนเรียงความ โดยใช้โปรแกรม PowerPoint
นวัตกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
เลนส์นูน.
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
มาตราส่วนในงานเขียนแบบ วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
เลื่อยมือ hack saw.
เรื่อง การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า จัดทำโดย กลุ่ม 5
การกำหนด ลักษณะอื่นๆ ง การเขียน เว็บไซต์สไตล์ ป. พ. ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
Mind Mapping.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multi-view Projection)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การเขียนแบบใช้งานเบื้องต้น(Working Drawing)
หลักเกณฑ์การออกแบบ.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
การเขียนภาพพิคโทเรียล (Pictorial Drawing )
การสะท้อนแสงบนกระจกเงา
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
ผลงานโดย 1. นางสาวกนกนันทน์ สารสมัคร
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
การเข้าไม้.
Orthographic Projection week 4
ความเป็นมา ในปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากในชีวิตประจำวันแทบทุกด้าน รวมถึงด้านของการศึกษาด้วย ผู้เรียนส่วนใหญ่สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผู้วิจัยจึงเห็นแนวทางที่จะพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน.
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
SECTION VIEWS การเขียนภาพลายตัด week 5
ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.
บรรยายครั้งที่ 7 - กราฟิกวิศวกรรม 1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6

เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 6 1. Basic of Sectioning 2. Section Line & Cutting Plane Line 3. Type of Section (Full Section / Half Section / Offset Section / Broken-out section / Aligned Section (Conventional Revolution) / Revolved Section / Removed Section) 4. Conventional Breaks 5. Rib, Web and Spoke

วัตถุประสงค์ในสัปดาห์ที่ 6 เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการเขียนภาพตัด ประเภทต่าง ๆ 2. สามารถเขียนและอ่านแบบภาพตัดประเภท ต่าง ๆ ได้

การตัด (Section) คือ การผ่าวัตถุเพื่อให้มองเห็น หรือแสดงส่วนที่มีลักษณะซับซ้อนของวัตถุ ซึ่งไม่สามารถแสดงด้วยภาพฉาย Orthographic ได้

ภาพตัด (Section view) คือ ภาพที่แสดงการตัดหรือผ่าวัตถุ โดยสามารถมองเห็นรายละเอียดของวัตถุ, เนื้อวัตถุและที่ว่างได้อย่างชัดเจน

ภาพตัด (Section view) Cutting plane หรือ ระนาบตัด เป็นระนาบที่สมมุติขึ้นเพื่อใช้ตัดวัตถุ เพื่อให้เห็นรายละเอียดของวัตถุที่ซ่อนอยู่ด้านใน

ภาพตัด (Section view) 2 ระนาบตัด 1 3

ภาพตัด (Section view) ระนาบตัด

องค์ประกอบของภาพตัด (Section view) View สำหรับการแสดงหน้าตัดที่ถูกตัด(Section View)

องค์ประกอบของภาพตัด (Section view) 1. เส้นแสดงแนวการตัด (Cutting Plane Line) คือ เส้นที่ใช้เป็นระนาบในการตัด 2. Section Line (สัญลักษณ์ของเนื้อวัตถุ) คือ เส้นที่แสดงหน้าตัดหรือเนื้อวัตถุที่ถูกระนาบตัดผ่าน

ลักษณะของ Cutting Plane Line น้ำหนักของเส้นเท่ากับ Visible line Thick line ANSI standard ทิศทางการมอง This course Thick line ทิศทางการมอง JIS & ISO standard Thin line ทิศทางการมอง

ลักษณะของ Section Line น้ำหนักของเส้นเท่ากับ Center line ถูกต้อง ระยะห่างไม่เท่ากัน เส้นลายตัดหนาเกินไป เส้นลายตัดตั้งฉากกับขอบรูป เส้นลายตัดชิดเกินไป น้ำหนักเส้นไม่เท่ากัน เส้นออกนอกกรอบรูป

ข้อควรระวังในการเขียนภาพตัด 1. การลากเส้นตัด (Section Line) โดยปกติให้เอียงทำมุมประมาณ 30๐ 45 ๐ หรือ 60 ๐ แต่จะต้องไม่ให้ขนานหรืออตั้งฉากกับกรอบรูป COMMON MISTAKE

ข้อควรระวังในการเขียนภาพตัด 2. การเขียนหัวลูกศรบน Cutting Plane Line ให้ ชี้หัวลูกศรไปในทิศทางการมองรูปและต้องวาง Section view ที่ด้านหลังของทิศทางลูกศร

Hidden Line ในภาพตัด ส่วนใหญ่จะไม่นิยมเขียนเส้นประ (Hidden line) ในภาพตัด เนื่องจากในภาพตัดเราจะสนใจรายละเอียดบริเวณที่มองไม่เห็นหรือโดนบังอยู่แล้ว แต่บางครั้งอาจมีความจำเป็นที่ต้องเขียนเส้นประ หากรูปนั้นเราต้องการแสดงบริเวณที่โดนบังเพื่อให้รูปมีสมบูรณ์มากขึ้น

Hidden Line ในภาพตัด

ข้อควรระวังในการเขียนภาพตัด การเขียนเส้นในภาพตัด (Section view)

ประเภทของภาพตัด 1. FULL SECTION 2. HALF SECTION 3. OFFSET SECTION 4. BROKEN-OUT SECTION 5. ALIGNED SECTION (CONVENTIONAL REVOLUTION)

ประเภทของภาพตัด REVOLVED SECTION REMOVED SECTION * CONVENTIONAL BREAKS

1. FULL SECTION เป็นการตัดผ่านตลอดวัตถุเต็ม

ข้อสังเกตของ Full Section ระนาบตัด ตัดผ่านทั้งชิ้นงานเป็นเส้นตรง แสดงรอยตัด (Section Line) ตลอดทั้งชิ้นงานที่ถูกตัดผ่าน

2. HALF SECTION เป็นการตัดวัตถุเพียงครึ่งเดียว นิยมใช้กับวัตถุที่มีความสมมาตร

2. HALF SECTION เป็นการตัดวัตถุเพียงครึ่งเดียว นิยมใช้กับวัตถุที่มีความสมมาตร

ข้อสังเกตของ Half Section ระนาบตัด ตัดผ่านชิ้นงานแค่ครึ่งหนึ่ง แล้วหักศอก 90๐ ดังรูป แสดงรอยตัด (Section Line) แค่ครึ่งเดียว เส้นที่กั้นระหว่างด้านที่ถูกตัดกับด้านที่ไม่ถูกตัด คือ เส้น Center Line

3. OFFSET SECTION เป็นการตัดแบบ Full section ประเภทหนึ่ง แต่มีการหักเหทิศทางเพื่อแสดงให้เห็นส่วนที่สำคัญ

3. OFFSET SECTION ไม่แสดงขอบของระนาบตัด

ข้อสังเกตของ Offset Section ส่วนใหญ่จะใช้กับรูปที่มีรูเจาะอยู่เยื้องไม่ตรงกัน แสดงรอยตัด (Section line) บริเวณที่รอยตัด ตัดผ่าน บริเวณที่เกิดการหักมุมของเส้นระนาบตัด จะไม่แสดง เส้นทึบ ที่ด้านแสดงรอยตัด

3. OFFSET SECTION

4. BROKEN-OUT SECTION เป็นการตัดที่แสดงบางส่วนที่สำคัญของวัตถุ Break line

4. BROKEN-OUT SECTION

EXAMPLE : Comparison among several section techniques

5. ALIGNED SECTION CONVENTIONAL REVOLUTION เป็นหลักปฏิบัติในการเขียนภาพฉายตั้งฉาก เพื่อลดความยุ่งยากซับซ้อนของการเขียนและการอ่านแบบ จากลักษณะของการฉายภาพที่ทำให้เกิดความไม่สมมาตร

5. ALIGNED SECTION CONVENTIONAL REVOLUTION

5. ALIGNED SECTION สำหรับการเขียนภาพตัด ได้นำวิธีการ Conventional Revolution มาใช้เช่นกัน โดยจะเรียกภาพตัดที่ใช้วิธีการนี้ว่า Aligned Section

5. ALIGNED SECTION

ข้อสังเกตของ ALIGNED SECTION เส้น Cutting Plane Line สามารถเขียนแสดงได้ 2 ลักษณะ ดังรูป แนวของเส้น Cutting Plane Line ในส่วนที่มีการหมุนกวาด โดยปกติจะมีค่าน้อยกว่า 90 ° < 90°

6. REVOLVED SECTION

6. REVOLVED SECTION

6. REVOLVED SECTION

7. REMOVED SECTION

REMOVED SECTION VIEW Example : Revolved vs. removed sections. Revolved section Removed section

* CONVENTIONAL BREAKS

ชิ้นส่วนที่มีการเขียนแสดงภาพตัดต่างจากปกติ - RIB - WEB - SPOKE

RIB

RIB A A

RIB A A

WEB

WEB A

WEB A

SPOKE

SPOKE A

ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning จบสัปดาห์ที่ 6 อย่าลืมทำการบ้าน ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning