งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บรรยายครั้งที่ 7 - กราฟิกวิศวกรรม 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บรรยายครั้งที่ 7 - กราฟิกวิศวกรรม 1"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บรรยายครั้งที่ 7 - กราฟิกวิศวกรรม 1
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2

3 การเขียนภาพตัด (sectioning)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเขียนภาพตัด (sectioning)

4 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพฉายแบบ orthographic มีรายละเอียดมาก ทำให้เกิดความ ยุ่งยากในการอ่านแบบ จำเป็นต้องใช้ภาพตัด (sectional view) เพื่อ อธิบายรายละเอียดข้างในของวัตถุ เป็นการใช้ระนาบตัด (cutting plane) ซึ่งเป็นระนาบสมมุติตัดผ่าน วัตถุออกเป็น 2 ส่วน โดยแสดงผิวหน้าตัดด้วยเส้นลายตัดเอียง โดยปกติจะไม่เขียนเส้นประและรายละเอียดส่วนที่อยู่หลังระนาบตัด ยกเว้นกรณีที่ต้องการแสดงให้ชัดเจนหรือบอกขนาดการแสดงภาพ แบบแกนตั้งฉาก

5 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การแสดงภาพตัด

6 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดจะแสดงขอบและพื้นผิวต่างระดับที่อยู่หลังระนาบตัด โดยทั่วไปจะไม่ใช้เส้นประ (hidden line) แสดงส่วนที่ถูกบัง ยกเว้น ในกรณีเฉพาะ เช่น ต้องการแสดงภาพให้ชัดเจน หรือ ต้องการบอก ขนาด ต้องเส้นลายตัดทุกเส้นของพื้นผิวภาพตัดของวัตถุเดียวกันต้องขนาน กัน ในกรณีเส้นลายตัดมีทิศทางตรงข้ามแสดงว่าเป็นชิ้นส่วนต่างกัน

7 การเขียนเส้นในภาพตัด
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเขียนเส้นในภาพตัด

8 การเขียนเส้นประในภาพตัดเพื่อแสดงภาพให้ชัดเจน
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเขียนเส้นประในภาพตัดเพื่อแสดงภาพให้ชัดเจน

9 การเขียนเส้นประในภาพตัดเพื่อแสดงภาพให้ชัดเจน
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเขียนเส้นประในภาพตัดเพื่อแสดงภาพให้ชัดเจน

10 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเขียนเส้นลายตัด

11 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเขียนเส้นลายตัด

12 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระนาบตัดและภาพตัด

13 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระนาบตัดและภาพตัด

14 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เส้นระนาบตัด

15 ตัวอย่างการเขียนเส้นระนาบตัด
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตัวอย่างการเขียนเส้นระนาบตัด

16 ตัวอย่างการเขียนภาพตัด
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตัวอย่างการเขียนภาพตัด

17 ตัวอย่างการเขียนภาพตัด
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตัวอย่างการเขียนภาพตัด

18 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดในงานเขียนแบบมีหลายชนิด ขึ้นอยู่กับลักษณะของชิ้นงาน และรายละเอียดที่ต้องการแสดง โดยประเภทของภาพตัดแบ่งได้ดังนี้ ภาพตัดเต็ม (full section) ภาพตัดครึ่ง (half section) ภาพตัดเฉพาะส่วน (broken-out section) ภาพตัดหมุน (revolved section) ภาพตัดเคลื่อนย้าย (removed section) ภาพตัดแยกแนว (offset section) ภาพตัดที่มีสัน (web) หรือ แกนยัน (rib) ภาพตัดปรับแนว (aligned section) ภาพตัดย่อส่วน (conventional breaks)

19 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดเต็ม (full section) เป็นภาพตัดที่เกิดจากระนาบตัดตรง ตลอดทั้งพื้นผิววัตถุ และย้ายส่วนหน้าครึ่งหนึ่งออก

20 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดเต็ม สนับสนุนภาพเคลื่อนไหวโดย ผศ.ดร.จิรพงศ์ กสิวิทย์อำนวย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

21 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดเต็ม

22 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดครึ่ง (half section) เป็นภาพตัดที่เกิดจากระนาบซึ่งตัด เพียงครึ่งหนึ่งของหน้าตัดวัตถุ ภาพที่ได้ เรียกว่า "ภาพตัดครึ่ง" ซึ่งสามารถแสดงทั้งรายละเอียดภายในและภายนอกของวัตถุ การใช้ประโยชน์ภาพตัดครึ่งจะใช้สำหรับภาพที่สมมาตรกัน

23 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดครึ่ง

24 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดครึ่ง สนับสนุนภาพเคลื่อนไหวโดย ผศ.ดร.จิรพงศ์ กสิวิทย์อำนวย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

25 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดครึ่ง สนับสนุนภาพเคลื่อนไหวโดย ผศ.ดร.จิรพงศ์ กสิวิทย์อำนวย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

26 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดเฉพาะส่วน (broken-out section) เป็นภาพตัดที่แสดง รายละเอียดเฉพาะส่วน จะใช้เส้นตัดตอนแสดงภาพตัดเฉพาะ ส่วนด้วยการเขียนแบบมือเปล่า (free hand)

27 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดเฉพาะส่วน

28 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดเฉพาะส่วน สนับสนุนภาพเคลื่อนไหวโดย ผศ.ดร.จิรพงศ์ กสิวิทย์อำนวย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

29 การเปรียบเทียบภาพตัดชนิดต่างๆ
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การเปรียบเทียบภาพตัดชนิดต่างๆ สนับสนุนภาพเคลื่อนไหวโดย ผศ.ดร.จิรพงศ์ กสิวิทย์อำนวย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

30 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดปรับแนว (aligned section) ในบางกรณี ระนาบตัดต้อง ตัดตรงแล้วเฉียงเพื่อแสดงลักษณะภายในที่ต้องการ ดังนั้นการ แสดงภาพตัดต้องปรับแนวส่วนที่เอียงให้ตรง (ในแนวดิ่งหรือ แนวนอน) เพื่อแสดงขนาดที่แท้จริงของภาพตัด

31 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Gives the impression that this holes are at unsymmetrical position. ภาพตัดปรับแนว สนับสนุนภาพเคลื่อนไหวโดย ผศ.ดร.จิรพงศ์ กสิวิทย์อำนวย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

32 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดปรับแนว

33 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภาพตัดปรับแนว

34 ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปฏิบัติการครั้งที่ 7


ดาวน์โหลด ppt บรรยายครั้งที่ 7 - กราฟิกวิศวกรรม 1

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google