ศศ 5030 ระเบียบวิธีวิจัย การนำเสนอหัวข้อภาคนิพนธ์ เรื่อง มูลค่าความเสี่ยงของกองทุนรวมตราสารทุนในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน นาย ตัวอย่าง นำเสนอหัวข้อวิจัย รหัสนักศึกษา 9999999999 นักศึกษาระดับปริญญาโทหลักสูตรเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ อาจารย์ประจำกลุ่ม:รศ.ดร.อาจารย์ ใจดี และ ผศ.ดร. เก่งกาจ เคร่งครัด 10 สิงหาคม 2556
ที่มาและความสำคัญของงานวิจัย
ที่มาและความสำคัญของงานวิจัย การบริหารความเสี่ยงของกองทุนรวมมีความสำคัญยิ่งต่อการดำรงอยู่ของกองทุนในการสร้างผลตอบแทนให้กับผู้ลงทุนภายใต้ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ประเด็นปัญหาคือ แบบจำลองใดที่มีความแม่นยำในการประมาณค่ามูลค่าความเสี่ยงสำหรับกองทุนรวมในอาเซียน
วัตถุประสงค์งานวิจัยและประโยชน์ที่จะได้รับ เพื่อศึกษาแบบจำลองที่เหมาะสมในการวัดมูลค่าความเสี่ยง (Value at Risk) ของกองทุนรวมตราสารทุนในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประโยชน์ต่อตลาดทุนไทย ได้ทราบถึงแบบจำลองที่เหมาะสมในกองทุนรวมตราสารทุนในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนโดยผ่านมาตรวัดความเสี่ยงคือ มูลค่าความเสี่ยง เพื่อจะเป็นการนำไปใช้ในการประกอบการพิจารณาในการบริหารความเสี่ยงของกองทุนรวมต่อไป
Mixed Normal Distribution Historical Simulation Monte Carlo Simulation Value at Risk Parametrics Variance & Covariance Normal Distribution Delta Normal Adjusted Tailed Student's t Mixed Normal Distribution Jump Distribution Bayesian Estimation Copula Function Extreme Value Theory Non - Parametrics Historical Simulation Monte Carlo Simulation Kernel การทบทวนวรรณกรรม (Bensalah, 2000) (Fernandez, 2003) (Hendrick, 1996) (Dowd, 1998) (Jorion, 2001) (Damodaran, 2007) (Pajor&Osiewalski, 2012) (Garbade, 1986) (JP Morgan, 1994) (Hsieh, 1993) (Wilson, 1994) (Fallon, 1996 ; Danielsson, 1997 & 2000) (Javanainen, 2004) (Janabi, 2007) (Plackett, 1965) (Patton, 2003; Palaro&Hotta 2006) (Rahman, Ping & Hang, 2011) (อัญญา, 2550) (Wiener, 1999) (Kon, 1984) (Shelther & Schachter, 1997) (Khanthavit & Srisopitsawat, 2002)
การทบทวนวรรณกรรม มูลค่าความเสี่ยงสำหรับกองทุนรวม (Immen & Ahlem, 2008) (Lau, 2008) (Deb & Banerjee, 2009) (Danilla, 2012) วิธีการคำนวณ อิงตัวแปร (Normal) การจำลองจากข้อมูลในอดีต การจำลองแบบมอนติคาโล อิงตัวแปร(Normal) วิธีการปรับปรุงมูลค่าความเสี่ยง มูลค่าความเสี่ยงแบบมีเงื่อนไข ค่าคาดหวังของความขาดแคลน ข้อมูลที่ใช้ กองทุนรวมแบบผสม 14 กองทุนในประเทศตูนิเซีย โดยใช้ข้อมูลรายวัน กองทุนรวมเปิดตราสารทุนในประเทศมาเลเซีย โดยใช้ข้อมูลรายเดือน กองทุนรวมเปิดตราสารทุนในประเทศอินเดีย โดยใช้ข้อมูลรายสัปดาห์ กองทุนรวมในประเทศอินโดนีเซีย ช่วงเวลาศึกษา ตั้งแต่ 2 มกราคม ค.ศ. 2002 ถึง 29 ธันวาคม ค.ศ. 2009 ตั้งแต่ พฤษภาคม ค.ศ. 1997 ถึง พฤษภาคม ค.ศ. 2002 ตั้งแต่ มกราคม ค.ศ. 2000 ถึง ธันวาคม ค.ศ. 2006 ตั้งแต่ 2 มกราคม ค.ศ. 2007 ถึง 2 มกราคม ค.ศ. 2008
ข้อมูลที่ใช้ในงานวิจัย ใช้ข้อมูลมูลค่าสินทรัพย์สุทธิต่อหน่วย (NAVs) รายวัน ของกองทุนเปิดตราสารทุนในประเทศไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และ ฟิลิปปินส์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2548 – 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 ประเทศ จำนวนกองทุนเปิดตราสารทุน Indonesia 26 Philippines 10 Malaysia 42 Singapore 59 Thailand 105 ที่มา: www.bloomberg.com, www.aimc.or.th, www.morningstar.com
ขั้นตอนในการทำวิจัย สร้าง Portfolio ในแต่ละประเทศซึ่งประกอบด้วยกองทุนเปิดตราสารทุน ในขั้นต้นจะกำหนดค่าน้ำหนักให้เท่ากัน (Equally Weight) จะใช้การคำนวณมูลค่าความเสี่ยงแบบอิงตัวแปร (Parametric Value at Risk) ตัวแบบ ทฤษฎีค่าสุดโต่งและฟังก์ชันโคปูลาแบบมีเงื่อนไข (Conditional Extreme Value Theory and Copula Function) หลังจากคำนวณแล้วจะนำค่ามูลค่าความเสี่ยงของแต่ละประเทศมาเปรียบเทียบ Estimate Parameter Generate Return and Filter Extreme Return by Conditional Extreme Value Theory Simulate Portfolio by Copula Function Calculate Value at Risk Compare VaRs in AEC