งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
การหาผลตอบแทน แนวคิดเกี่ยวกับความเสี่ยง การวัดความเสี่ยง ความเสี่ยงของกลุ่มหลักทรัพย์ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

2 การวัดอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
อัตราผลตอบแทนการลงทุนวัดตัวเงินที่ได้จากการลงทุน อัตราผลตอบแทนอาจวัดในรูปของผลตอบแทนในอดีตหรือผลตอบแทนที่คาดหวัง ผลตอบแทนสามารถแสดงได้ในรูปของ: จำนวนเงิน เช่น 10,000 บาท เปอร์เซ็นต์ เช่น 15% Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

3 Bangkok University School of Business Administration
จงหาอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนซื้อหุ้น 100 บาท และขายไปในราคา 110 บาท ในอีก 1 ปีต่อมา? อัตราผลตอบแทนเป็นจำนวนเงิน: จำนวนเงินที่ได้รับ - จำนวนเงินลงทุน 110 บาท บาท = 10 บาท อัตราผลตอบแทนเป็นเปอร์เซ็นต์: ผลตอบแทน/เงินลงทุน 10 บาท/100 บาท = 0.10 = 10%. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

4 ความเสี่ยงจากการลงทุน
ตามปกติแล้ว เราจะไม่ทราบผลตอบแทนจากการลงทุนอย่างแน่นอน ความเสี่ยงจากการลงทุน (Investment risk) เกิดจากการที่มีความน่าจะเป็นที่การลงทุนจะได้รับผลตอบแทนน้อยกว่าที่ได้คาดเอาไว้ ยิ่งโอกาสที่ผลตอบแทนจะต่ำกว่าผลตอบแทนที่คาดไว้มากขึ้นเท่าไรความเสี่ยงก็ยิ่งมากขึ้นเท่านั้น Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

5 Bangkok University School of Business Administration
Probability distribution หุ้น X หุ้น Y อัตราผลตอบแทน (%) -20 15 50 หุ้นใดมีความเสี่ยงมากกว่ากัน? เพราะเหตุใด? Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

6 สมมติทางเลือกในการลงทุนต่างๆดังนี้
ภาวะเศรษฐกิจ Prob. พันธบัตร HT Coll USR MP ถดถอย 0.10 8.0% -22.0% 28.0% 10.0% -13.0% ต่ำกว่าปกติ 0.20 8.0 -2.0 14.7 -10.0 1.0 ปกติ 0.40 20.0 0.0 7.0 15.0 สูงกว่าปกติ 35.0 45.0 29.0 ดีมาก 50.0 -20.0 30.0 43.0 1.00 Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

7 คำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง (expected rate of return) ในแต่ละทางเลือก
^ k = อัตราผลตอบแทนคาดหวัง ^ kHT = 0.10(-22%) (-2%) + 0.40(20%) (35%) + 0.10(50%) = 17.4%. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

8 สรุปผลในการคำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังของแต่ละทางเลือก
k HT 17.4% MP 15.0 USR 13.8 พันธบัตร 8.0 Coll 1.7 ^ HT มีอัตราผลตอบแทนสูงสุด และดูเหมือนเป็นการลงทุนที่ดีที่สุด อย่างไรก็ดี เราต้องคำนึงถึงความเสี่ยงด้วย Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

9 Bangkok University School of Business Administration
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) ของอัตราผลตอบแทนในแต่ละทางเลือก Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

10 Bangkok University School of Business Administration
HT:  = (( ) ( )20.20 + ( ) ( )20.20 + ( )20.10)1/2 = 20.0%. พันธบัตร = 0.0%. HT = 20.0%. Coll = 13.4%. USR = 18.8%. MP= 15.3%. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

11 Bangkok University School of Business Administration
Prob. พันธบัตร USR HT 8 13.8 17.4 อัตราผลตอบแทน (%) Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

12 Bangkok University School of Business Administration
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) วัดความเสี่ยงจากการลงทุนในหุ้นตัวเดียว ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานยิ่งสูง ความน่าจะเป็นที่ผลตอบแทนจะต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนคาดหวังจะยิ่งมากขึ้น Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

13 เปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังและความเสี่ยง
หลักทรัพย์ ที่คาดหวัง ความเสี่ยง,  HT 17.4% 20.0% MP 15.0 15.3 USR 13.8 18.8 พันธบัตร 8.0 0.0 Coll 1.7 13.4 ทางเลือกใดดีที่สุด? Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

14 Bangkok University School of Business Administration
ค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (Coefficient of variation; CV) คือ ตัววัดที่เป็นมาตรฐานของการกระจายของมูลค่าที่คาดหวัง ซึ่งแสดงถึงความเสี่ยงต่อ 1 หน่วยของอัตราผลตอบแทน CV = /k ^ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

15 การจัดลำดับความเสี่ยงโดยใช้ coefficient of variation
หลักทรัพย์ k CV HT 17.4% 20.0% MP 15.0 15.3 USR 13.8 18.8 พันธบัตร 8.0 0.0 Coll 1.7 13.4 ^ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

16 การจัดลำดับความเสี่ยงโดยใช้ coefficient of variation
Coll. มีระดับความเสี่ยงต่อหนึ่งหน่วยของอัตราผลตอบแทนที่สูงที่สุด ถึงแม้ว่า HT จะมี standard deviation สูงที่สุด แต่ก็มีค่า CV โดยเปรียบเทียบอยู่ในระดับปานกลาง Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

17 ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทนในกลุ่มหลักทรัพย์
สมมติให้กลุ่มหลักทรัพย์ประกอบด้วยหุ้นสองตัวคือ HT (50,000 บาท) และ Coll (50,000 บาท) ^ คำนวณ kp and p. Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

18 อัตราผลตอบแทนของกลุ่มหลักทรัพย์, kp
^ ^ kp ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอัตราผลตอบแทน: n ^ ^ kp = wiki i = 1 ^ kp = 0.5(17.4%) + 0.5(1.7%) = 9.6% Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

19 Bangkok University School of Business Administration
p = (( ) ( ) ( ) ( ) ( )20.10)1/2 = 3.3%. p ต่ำกว่า:  ของหุ้นแต่ละตัว (20% and 13.4%)  เฉลี่ยของ HT และ Coll (16.7%) กลุ่มหลักทรัพย์ให้ค่าอัตราผลตอบแทนโดยเฉลี่ย แต่มีค่าความเสี่ยงต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอย่างมากเนื่องจากหุ้นมีค่า correlation ที่เป็นลบ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration

20 Bangkok University School of Business Administration
σp = 3.3% ต่ำกว่า σi ของหุ้นแต่ละตัว (σHT = 20.0%; σColl. = 13.4%) σp = 3.3% ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ σ ของ HT และของ Coll (16.7%) \ Portfolio ให้ค่าอัตราผลตอบแทนโดยเฉลี่ย แต่มีค่าความเสี่ยงต่ำกว่าค่าความเสี่ยงโดยเฉลี่ยอย่างมาก เนื่องจากค่า correlation ระหว่างหุ้น ที่เป็นลบ Sansanee Thebpanya Bangkok University School of Business Administration


ดาวน์โหลด ppt ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google