งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D.
10 ปี หลังวิกฤติเศรษฐกิจไทย : ปฏิรูปและความพร้อมเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D. TDRI Year – end Conference, ธันวาคม 2549

2 10 ปี หลังวิกฤติเศรษฐกิจไทย : ปฏิรูปและความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เงื่อนไขสำคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืน สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ 1997 การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

3 เงื่อนไขสำคัญของการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืน
มีการออมมากพอ และมีการลงทุนที่เป็นประโยชน์ในระยะยาว (Solow : Balanced Growth) เศรษฐกิจขยายตัวเท่ากับอัตราดอกเบี้ยที่สนับสนุนการออมและการลงทุนระยะยาว (Phelps : Golden Rule) การลงทุนต้องเพิ่มประสิทธิภาพของทุน (Schumpeter, Arrow, Romer) ต้องลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของแรงงาน (Lucas) ต้องมี R+D เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการลงทุน (Romer, Grossman+Helpman, etc.)

4 สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ
การออมต่ำกว่าการลงทุนต่อเนื่อง ปี Source : National Economic and Social Development Board : NESDB

5 2. สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ (ต่อ)
การลงทุนส่วนสำคัญมาจากเงินต่างประเทศ Source : BOT

6 สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ (ต่อ)
มีการนำทุนต่างประเทศเข้ามามาก เพราะสะดวก (BIBF) ต้นทุน (อัตราแลกเปลี่ยน+ดอกเบี้ย) ต่ำกว่าเงินทุนในประเทศไทย Source : CEIC and BOT เป็นการลงทุนเกินขนาด (โรงกลั่น, เปโตรเคมี, เหล็ก, โทรคมนาคม, อสังหาริมทรัพย์)

7 สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ (ต่อ)
เป็นการลงทุนเพื่อทำกำไรระยะสั้น – ปานกลางมากกว่าเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระยะยาว Component Total Economy Real Output Growth 6.0 7.7 5.0 Contribution of: Labor 1.8 2.0 1.9 - Employment 1.4 1.6 - Quality 0.4 0.3 Capital 3.1 4.0 0.9 Land 0.0 TFP 1.0 2.1 Source : Bosworth (2006)

8 สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ (ต่อ)
มีหนี้ต่างประเทศสูงมาก และส่วนมากเป็นหนี้ระยะสั้นของเอกชน Source : BOT

9 สาเหตุหลักของวิกฤติเศรษฐกิจ (ต่อ)
ปัญหาเศรษฐกิจ + การเมืองในปี ทำให้ทุนต่างประเทศออกรวดเร็ว Source : BOT

10 การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 (เฉพาะที่เกี่ยวกับการออม + การลงทุน)
ตลาดการเงิน – ภาคธนาคาร / การเงิน ระบบบริหารอัตราแลกเปลี่ยนยืดหยุ่น ตั้งแต่ ก.ค. 1997 บริหารนโยบายการเงินโดย Inflation Targeting ระบบธนาคารบริหารความเสี่ยงดีขึ้น ให้มีธนาคารต่างชาติมาแข่งขันจำนวนหนึ่ง เพิ่มใบอนุญาตประกอบกิจการธนาคาร

11 การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ)
การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ ฯ (ต่อ) ปรับเกณฑ์การตรวจสอบตั้งแต่ ผลประโยชน์ทับซ้อน ผู้สอบบัญชี การตรวจสอบภายใน การเปิดเผยข้อมูล เกณฑ์การเป็นกรรมการ มีการใช้ระบบ Credit Bureau

12 การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ)
ตลาดทุน การใช้ Accredited Valuer การใช้ระบบมาตรฐานบัญชีสากล ปรับปรุงระบบ Governance มีกรรมการตรวจสอบอิสระ 1998 แนวทางการปฏิบัติงานของกรรมการ (1998,2005) จัดตั้ง IOD และกำหนดให้กรรมการเข้าโครงการ IOD โครงการจัดอันดับการกำกับดูแลกิจการที่ดี

13 การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ)
การเพิ่ม securities products ให้หลากหลาย Mutual fund Property fund Private fund Derivatives การให้ใบอนุญาตตามขนาดของทุน (2007) ตลาดเงิน / ตลาดทุน มีระบบบริหารความเสี่ยง สำหรับทุก parties ดีขึ้นมาก

14 การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ)
ภาคสินค้า / ภาคบริการ ภาคสินค้า/อุตสาหกรรมการผลิต การคุ้มครองจากระบบภาษีศุลกากรและการส่งเสริม การลงทุนลดลงและเท่าเทียมมากขึ้น อัตราภาษีศุลกากรต่ำลงเป็น 4 อัตรา สำหรับสินค้า ส่วนมาก (0%, 1%, 5%, 10%) อัตราภาษีศุลกากรเฉลี่ย 1999, 17% 2005, %

15 การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ)
มีการทำ FTA กับ ASEAN นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย จีน อินเดีย ฯลฯ ลดการคุ้มครองจากภาษีศุลกากรลงอีก

16 การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ 1998-2006 ฯ (ต่อ)
การปฏิรูประบบเศรษฐกิจ ฯ (ต่อ) การลงทุน ให้ต่างชาติลงทุนและต่างด้าวประกอบธุรกิจมากขึ้น การค้า พ.ร.บ. การแข่งขันทางการค้า (1999) เพิ่มการแข่งขัน (แต่ยังไม่มีผลมากนัก) ระบบการแข่งขันช่วยลดความเสี่ยงทางธุรกิจ

17 4. ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผลการปฏิรูปเบื้องต้น ( ) การออมสูงกว่า การลงทุนต่อเนื่อง Source : National Economic and Social Development Board : NESDB

18 ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ)
โครงสร้างหนี้ต่างประเทศ มีหนี้เอกชนลดลง และ เป็นหนี้ระยะยาวมากขึ้น Source : BOT

19 ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ)
มาตรการส่งเสริมการออมยังต้องพัฒนาต่อเนื่อง จัดตั้งสถาบันประกันเงินฝาก จัดระบบกำกับสถาบันการเงินให้ชัดเจน (องค์กรกำกับ?/องค์กรนโยบาย?) เพิ่มการแข่งขันและการกำกับการบริหารความเสี่ยงตามมาตรฐานสากล เพิ่มการออมในระบบประกันสังคม/กองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้ทั่วถึง (เกณฑ์การออมและวิธีการบริหารกองทุน)

20 ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ)
การพัฒนาตลาดทุนต้องทำให้ไปสู่มาตรฐานสากล ประเภท + จำนวน securities products ระบบการอนุญาตการออกหลักทรัพย์และการกำกับ ฯลฯ สถาบันการเงิน เฉพาะกิจของรัฐยังมีบทบาทจำกัด

21 ความพร้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ต่อ)
ระบบการแข่งขันทางการค้า (Competition Regime) ยังต้องพัฒนาต่อ โดยไม่ให้อำนาจทางการค้ากระจุกตัว ต้องสร้างระบบให้ธุรกิจมีความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility – CSR) รัฐต้องมีการออมและการลงทุนเพื่อรักษา และพัฒนาสภาพแวดล้อม สังคม/ประชาชน ต้องลงทุนในการศึกษาสาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม Growth Theory + Sufficiency Economy


ดาวน์โหลด ppt โดย ณรงค์ชัย อัครเศรณี, Ph.D.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google