งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
หลักการเงิน ( ) บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)

2 ผลตอบแทน วัตถุประสงค์ของการประกอบธุรกิจ - เพื่อทำให้มูลค่ากิจการสูงสุด
การพิจารณาผลตอบแทน = พิจารณาจากกระแสเงินสดจากการลงทุนนั้นๆ ไม่ใช่กำไรทางบัญชี

3 อัตราผลตอบแทน อัตราผลตอบแทน =
(เงินสดรับปลายงวด - เงินลงทุนต้นงวด + เงินสดรับระหว่างงวด) เงินลงทุนต้นงวด ตัวอย่าง ถ้านาย ก.ลงทุนซื้อหุ้นของบริษัท ABC ในราคาหุ้นละ 80 บาท ถือไว้ครบ 1 ปี ได้รับเงินปันผลหุ้นละ 2 บาท และสิ้นปีขายหุ้น ต่อได้ในราคาหุ้นละ 86 บาท อัตราผลตอบแทน = ( )/80 = 0.10 หรือ 10%

4 ความเสี่ยง ความเสี่ยงทางธุรกิจ (business risk)
ความเสี่ยงทางการเงิน (financial risk) ความเสี่ยงเกี่ยวกับอัตราดอกเบี้ย (interest rate risk) ความเสี่ยงในอำนาจซื้อ (purchasing power risk) ความเสี่ยงของอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนต่อ (reinvestment rate risk)

5 อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง
E(x) = p1x1 + p2x2 + … +pnxn E(x) - มูลค่าผลตอบแทนที่คาดหวัง (expected return) t สภาพเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น (t = 1 … n) n จำนวนผลที่จะเกิดขึ้นตามสภาพเหตุการณ์ต่างๆกัน pt - ความน่าจะเป็นของผลที่ t จะเกิดขึ้น xt - มูลค่าของผลตอบแทนตามสภาพเหตุการณ์ที่ t ที่เกิดขึ้น

6 การวัดความเสี่ยง ตัวอย่าง นายดีเสมอกำลังพิจารณาการลงทุนผลิตสินค้า 2 ชนิด คือสินค้าก. และ ข. มีข้อมูลต่างๆ ประกอบการ พิจารณาดังนี้ สภาพการณ์ สินค้า ก. สินค้า ข. Pt Xt ประสบความสำเร็จดี ประสบความสำเร็จปานกลาง ประสบความสำเร็จน้อย 25% 50% 30% 15% 5% 20% 35% 5.5%

7 การวัดความเสี่ยง คำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง สภาพการณ์ สินค้า ก.
สินค้า ข. Pt Xt PtXt ประสบความสำเร็จดี ประสบความสำเร็จปานกลาง ประสบความสำเร็จน้อย อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง 0.25 0.50 0.30 0.15 0.05 0.20 0.350 0.150 0.055

8 ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ(x)
ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) เป็นการวัดความเบี่ยงเบนของผลที่อาจจะเกิดขึ้นในแต่ละกรณีจากมูลค่าที่คาดหวังไว้ ถ้าค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานยิ่งสูง ยิ่งแสดงถึงความเบี่ยงเบนที่กว้างของผลที่อาจจะเกิดขึ้นจากมูลค่าที่คาดหวังไว้

9 ขั้นตอนการคำนวณ ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คำนวณมูลค่าผลตอบแทนที่คาดหวังไว้ E(X) คำนวณส่วนที่เบี่ยงเบนของผลที่อาจจะเกิดขึ้นแต่ละกรณีจากมูลค่าที่คาดหวังไว้ [Xt – E(X)] ยกกำลัง 2 ค่าความเบี่ยงเบนแต่ละค่า [Xt – E(x)]2 ถ่วงน้ำหนักค่าความเบี่ยงเบนยกกำลังสอง Pt[Xt – E(X)]2 รวมค่าถ่วงน้ำหนักที่ได้จากข้อ 4 เข้าด้วยกัน เรียกว่า ค่าความแปรปรวน (variance) ของผลที่อาจเกิดขึ้น σ2(x) ถอดรากที่ 2 ของผลที่ได้จากข้อ 5 จะได้ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ(x) = √σ2(x)

10 ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน สินค้า ก.
สภาพเหตุการณ์ (1) Pt (2) Xt (3) = (1)(2) PtXt (4) Xt - E(X) (5)=(4)2 [Xt- E(X)]2 (6) Pt[Xt-E(x)]2 ดี ปานกลาง ล้มเหลว 25% 50% 30% 15% 5% E(X) = 0.0750 0.0125 0.1625 σ2(X)= σ(X)=

11 ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน สินค้า ข.
สภาพเหตุการณ์ (1) Pt (2) Xt (3) = (1)(2) PtXt (4) Xt - E(X) (5)=(4)2 [Xt- E(X)]2 (6) Pt[Xt-E(x)]2 ดี ปานกลาง ล้มเหลว 30% 20% 50% 35% 15% 5.5% E(X) = 0.1050 0.0300 0.0275 0.1625 σ2(X)= σ(X)=

12 สรุปผลการคำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสินค้าก
สรุปผลการคำนวณอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของสินค้าก. และข. รายการ อัตราผลตอบแทนที่คาดหวัง ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราผลตอบแทนที่อาจจะเกิดขึ้น สินค้า ก. 16.25% 8.94% สินค้า ข. 12.81%


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google