โดย “กลุ่มที่ ๒... ฉลองชัย ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง “ทบทวนการสรรหาบุคลากร ให้มีประสิทธิภาพ”
Advertisements

การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุน ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
นโยบาย 1) มีระบบข้อมูลสุขภาพผู้ป่วยในพื้นที่ ที่เป็นปัจจุบัน และสามารถเชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.แม่ข่ายได้ 2) ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีการลงทะเบียนที่
โครงการเร่งรัฐปฏิบัติการด่วน (เพื่อคนไทย) หรือโครงการปฏิบัติการประชาวิวัฒน์ ยุทธศาสตร์การสร้างระบบเศรษฐกิจที่เท่าเทียมและเป็นธรรม.
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
ณ ห้องประชุม ปค.๑ อาคารกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
กิจกรรม กำหนดการดำเนินงาน ต. ค. ๒๕ ๕๒ พ. ย. ๒๕ ๕๒ ธ. ค. ๒๕ ๕๒ ม. ค. ๒๕ ๕๓ ก. พ. ๒๕ ๕๓ มี. ค. ๒๕ ๕๓ เม. ย. ๒๕ ๕๓ พ. ค. ๒๕ ๕๓ มิ. ย. ๒๕ ๕๓ ก. ค. ๒๕ ๕๓ ส.
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
ผลการตรวจสอบที่พักและรีสอร์ท ในเขตปฏิรูปที่ดิน
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม ๓ ชื่อ กลุ่ม....สามซ่าๆๆ.
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล (ศบกต.)
กลุ่มที่ 1.
แนวทางการปฏิบัติงานและพัฒนาส่งเสริมการเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
กลุ่มที่ 16 ชื่อกลุ่ม สักงาม
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ภารกิจถ่ายโอน บริการข้อมูลและเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลการ ผลิต การตลาด เทคโนโลยี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลโฆษิต อำเภอ ตากใบ จังหวัดนราธิวาส ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย วัฒนา แดงสุวรรณ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 1 ดอกแก้วภูพาน จ. สกลนคร จ. สุรินทร์ จ. หนองคาย จ. หนองบัวลำภู จ. อุดรธานี
“แนวทางการจัดตั้งชมรมเสริมสร้างวินัยประเทศไทยใสสะอาดเพื่อสร้างเครือข่าย การส่งเสริมคนดี มีวินัย น้อมเกล้าฯ ถวายในหลวง”
สำนักงานเกษตรอำเภอนาด้วง จังหวัดเลย
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
กลุ่ม ก้าวไกลกับไอทีที่ ศบกต.
กลุ่มที่ 1 หัวข้อ ขอบเขต
คำอธิบายเกษตรหมู่บ้าน
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
โครงการส่งเสริมการใช้ปุ๋ย เพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตพืชเศรษฐกิจ (สับปะรด)
กลุ่มที่ 15 กลุ่ม อ่าวสวยทะเลใส
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
หน่วยที่ ๙ การเขียนโครงการ
ประชุมผู้บริหาร สพป. ตาก เขต ๒ ครั้งที่ ๒ / ๒๕๕๖ ห้องประชุม โรงเรียนแม่สอด.
๑๑. คุณพิจิตราฤทธิ์ ประภา ๑๒. คุณพดาลิมปสายชล ๑๓. คุณศิริชัยพุทธศิริ ๑๔. คุณอัครวุฒิศุภ อักษร ๑๕. คุณจันทิราโกมล ๑๖. คุณพนารัตน์ตัณฑ์ ไพบูลย์ ๑๗. คุณสมพรน้อยฉ่ำ.
การขับเคลื่อนโครงการ ๑. การขับเคลื่อนโครงการ ใช้กลไกคณะอำนวยการปฏิบัติการขจัด ความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงระดับอำเภอ / ตำบล / หมู่บ้าน.
ครั้งที่ ๑ / ๒๕๕๘ ประชุมคณะกรรมการพัฒนาสตรี จังหวัดพิษณุโลก (กพสจ.)
การส่งเสริมการวิจัย และพัฒนา กระทรวงศึกษาธิการ. ขอบข่ายงานวิจัย ปัจจุบัน ประเภทของการวิจัย การวิจัยเพื่อการเรียนรู้ (LRRD) การวิจัยพื้นฐาน การวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยี
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
การประชุมคณะอนุกรรมการ
โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาสหกรณ์ ในส่วนของสหกรณ์การเกษตร คณะกรรมการ ๑. คุณสายพิณเอี่ยมป๊อก ประธาน ๒. คุณนิภาเลี่ยมสกุลรองประธาน.
Knowledge Management องค์ความรู้เรื่อง “ การส่งเสริมงานวิสาหกิจชุมชนของสำนักงาน เกษตรอำเภอเมืองราชบุรี ” ความสำคัญ ถอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมงาน.
แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุของพัทลุง
ทำไมต้องมี การประชุมวันนี้ ?
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย “กลุ่มที่ ๒... ฉลองชัย ” สัมมนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การปฏิบัติงาน ศบกต. ตามระบบส่งเสริมการเกษตร โดย “กลุ่มที่ ๒... ฉลองชัย ”

๑. นายสานิต ศิริวัฒน์ (ประธานกลุ่ม)  รายชื่อสมาชิก ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง สังกัด สนง.กษอ. สนง.กษจ. ๑. นายสานิต ศิริวัฒน์ (ประธานกลุ่ม) เกษตรอำเภอ โคกศรีสุพรรณ สกลนคร ๒. นางพิมพา ดวงประชา คลองเขื่อน ฉะเชิงเทรา ๓. นายกมล ฤทธิเหมาะ นวส.ชำนาญการ บางพลี สมุทรปราการ ๔. นายปราโมทย์ วัฒนะ - มหาสารคาม ๕. นายจิตกรวัฒน์ สาแก้ว สำโรงทาม สุรินทร์ ๖. นายสมพงษ์ ณ ไธสง ซำสูง ขอนแก่น

ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง สังกัด สนง.กษอ. สนง.กษจ. ๗. นายจรูญ แก้วประโคน เกษตรอำเภอ กุดข้าวปุ้น อุบลราชธานี ๘. นายพัฒนะ มีพรหม นวส.ชำนาญการ - สกลนคร ๙. นายทองพูน แซงภูเขียว เมือง ชัยภูมิ ๑๐. นายเมธี เศรษฐบุบผา จตุรพักตรพิมาน ร้อยเอ็ด ๑๑. นายณรงค์ รัตนโกศล สตูล ๑๒. น.ส.กำไลทิพย์ เศรษฐ์วิชัย (เลขานุการ) ย่านตาขาว ตรัง ๑๓. นางปริชาติ นาคประกอบ พิมาย นครราชสีมา

“วิธีการใช้ ศบกต. เป็นกลไกขับเคลื่อนงาน ตามระบบส่งเสริมการเกษตร ให้เกิดผลสัมฤทธิ์”

ประเด็นย่อย ข้อเสนอ/ แนวคิด/ ข้อปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๑. การจัดทำข้อมูล การเกษตร รวบรวมข้อมูล ช่วยให้การทำงานรวดเร็วขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับเวทีเครือข่าย คณะกรรมการ ศบกต. มีส่วนร่วมในการรับทราบข้อมูล จัดเก็บข้อมูลเพิ่มเติม สรุป ตรวจสอบข้อมูล รายหมู่บ้าน เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของ ศบกต. รวบรวมข้อมูลระดับตำบล ได้ข้อมูลระดับตำบล ที่ทันสมัยและถูกต้อง

ข้อเสนอ/ แนวคิด/ ข้อปฏิบัติ ประเด็นย่อย ข้อเสนอ/ แนวคิด/ ข้อปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๒. การจัดแผนพัฒนา การเกษตรระดับตำบล ประชุมคณะกรรมการ ศบกต./ ท้องถิ่น/ ภาคี วางแผนจัดเวทีระดับหมู่บ้าน (เดือน ก.พ.) เพื่อบูรณาการกับหน่วยงานภาคี ศบกต./ ภาคี นำแผนระดับหมู่บ้าน มาวิเคราะห์จัดทำแผนระดับตำบล กำหนดทิศทาง การทำงานร่วมกัน จัดทำแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลเป็นรูปเล่ม (เดือน มี.ค.) ส่งแผนพัฒนาการเกษตรระดับตำบลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ อบต. ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก หน่วยงานต่างๆ

ประเด็นย่อย ข้อเสนอ/ แนวคิด/ ข้อปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๓. การจัดการเรียนรู้ และถ่ายทอดเทคโนโลยี กำหนดหลักสูตร การเรียนรู้ หลักสูตรการเรียนรู้ ตรงกับประเด็นปัญหา จัดกลุ่มตามปัญหา ของเกษตรกร การเรียนรู้เกิดประโยชน์ สูงสุดกับเกษตรกร สนับสนุนปัจจัย การผลิต ต่อยอดพัฒนาการผลิตของเกษตรกร

ประเด็นย่อย ข้อเสนอ/ แนวคิด/ ข้อปฏิบัติ เหตุผลประกอบ ๔. การให้บริการ ด้านการเกษตร เผยแพร่ข้อมูลด้านการเกษตร เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการให้บริการ ให้บริการเครื่องมือและอุปกรณ์ จัดทำเอกสารแนะนำ เตรียมความพร้อม ในด้านองค์ความรู้ ให้บริการผ่านช่องทางต่างๆ เป็นช่องทางประชาสัมพันธ์ที่เข้าถึงเกษตรกรได้รวดเร็ว

ขอได้รับความขอบคุณ จากกลุ่ม ๒ ฉลองชัย ...สวัสดี...