หน่วยที่ 5 ระบบใบสำคัญ ลักษณะของใบสำคัญจ่าย วิธีการของระบบใบสำคัญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำบัญชีโครงการอย่างไรให้โปร่งใส
Advertisements

1. ขั้นตอนการขออนุมัติหลักการ/ โครงการ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
บทที่ 12 ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร
โครงการพัฒนาระบบการเงินและบัญชีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 4 สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 3 เอกสารทางการบัญชี
DFD Level 0 เป็นขั้นตอนการสร้าง DFD โดยการแตกแยกย่อย Process ออกมาเป็น Process ย่อย ๆ และแสดงแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด Aj.Wichan Hongbin.
วิธีการบันทึกรายการในระบบ GFMIS ผ่าน Web Online สำหรับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.
Statement of Cash Flows
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิก
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
ลงรายการบัญชีทุกวันเป็นประจำทุกเดือน
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
การร่วมค้า (Joint Venture)
ระบบบัญชีเดี่ยว.
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
ระบบบัญชี.
การตรวจสอบด้านการเงิน
วงจรรายจ่าย วงจรที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่อไปนี้
การบันทึกรายการสินทรัพย์
กระดาษทำการของผู้สอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 230
การบัญชี 2 เงินสด (ต่อ).
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต พัฒนาการอำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ
เงินนอกงบประมาณ โดย นางชูใจ บุญสุยา.
การบริหารงานการเงินของสถานศึกษา
หลักฐานการจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
การเบิกจ่ายค่าครุภัณฑ์โครงการวิจัย
แผนผังทางเดินเอกสาร - ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ
เรื่อง ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินเดือนและค่าแรง
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ระบบการเรียกเก็บหนี้
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
บทที่ 5 การบันทึกบัญชีแยกประเภท
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
บทที่ 3 การวิเคราะห์รายการค้า.
การดำเนินการ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ GFMIS
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
วิชาการบัญชีตั๋วเงิน ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับตั๋วเงิน
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
จัดทำโดย นายวิทวัสชัย คำยะ นายธนวัฒน์ น้อยมหาพรม
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
สำนักงานตรวจสอบภายใน วันที่ 21 มกราคม 2558
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
Accounts payable system
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 5 ระบบใบสำคัญ ลักษณะของใบสำคัญจ่าย วิธีการของระบบใบสำคัญ หน่วยที่ 5 ระบบใบสำคัญ ลักษณะของใบสำคัญจ่าย วิธีการของระบบใบสำคัญ การบันทึกบัญชีตามระบบใบสำคัญ

แบบประเมินผลการเรียนรู้ก่อนเรียนหน่วยที่5 จงพิจารณาเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการจัดทำระบบใบสำคัญ ก. เพื่อความสะดวก ข. เพื่อควบคุมการจ่ายเงิน ค. เพื่อบันทึกบัญชีง่ายขึ้น ง. ถูกทุกข้อ 2. บัญชีใบสำคัญจ่าย ใช้แทนบัญชีใด ก. หนี้สิน ข. สินทรัพย์ ค. ค่าใช้จ่าย ง. รายได้ 3. ทะเบียนใบสำคัญจ่ายใช้แทนข้อใดต่อไปนี้ ก. สมุดแยกประเภทรายตัวเจ้าหนี้ ข. สมุดรายวันซื้อ ค. สมุดรายวันจ่ายเงิน ง. สมุดรายวันทั่วไป 4. ทะเบียนจ่ายเช็คใช้แทนข้อใดต่อไปนี้ ค. สมุดรายวันจ่ายเงิน ง. สมุดรายวันทั่ว 5. การเก็บใบสำคัญที่ยังไม่ได้จ่ายเงินจะจัดเก็บไว้ที่ใด ก. แฟ้มใบสำคัญค้างจ่าย ข. แฟ้มใบสำคัญจ่าย ค. ทะเบียนจ่ายเช็ค ง. ทะเบียนใบสำคัญ

6. การจ่ายเงินตามใบสำคัญ จะนำไปบันทึกในข้อใด ก. แฟ้มใบสำคัญจ่าย ข. แฟ้มใบสำคัญจ่าย ค. ทะเบียนจ่ายเช็ค ง. ทะเบียนใบสำคัญ 7. เงินสดที่กิจการเบิกมาใช้จ่ายครั้งละเล็ก ๆ น้อย ที่มีผู้รักษาเงินสดย่อยรับผิดชอบเรียกว่าอะไร ก. เงินสด ข. เงินสดย่อย ค. เงินขาดบัญชี ง. เงินเกินบัญชี 8. ข้อใดคือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการเบิก และการจ่ายเงินสดย่อย ก. ใบสำคัญจ่าย ข. ใบสำคัญเงินสดย่อย ค. เงินสดย่อย ง. แฟ้มใบสำคัญจ่าย 9. ในกรณีที่เงินสดย่อยที่ตั้งไว้น้อยเกินไป กิจการควรปฏิบัติอย่างไร ก. เพิ่มวงเงินสดย่อย ข. ลดวงเงินสดย่อย ค. ตั้งวงเงินสดย่อย ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดคือข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการรับเงินหรือทอนเงินให้ลูกค้า ก. เงินขาด ข. เงินเกิน ค. เงินสดย่อย ง. ข้อ ก. และ ข.ถูกต้อง

ลักษณะของใบสำคัญจ่าย ใบสำคัญจ่าย เป็นเอกสารที่ใช้เป็นหลักฐานแสดงการอนุมิให้จ่ายเงินไม่ว่ารายการนั้นจะจ่ายเงินหรือไม่ก็ตาม ใบสำคัญจ่ายมี 2 ด้าน 1. ด้านหน้า แสดงข้อมูลเกี่ยวกับรายการค้า จำนวนเงินที่ต้องจ่าย การตรวจสอบและการอนุมัติ 2. ด้านหลัง แสดงข้อมูลการบันทึกบัญชี รายละเอียดเกี่ยวกับจำนวนเงิน

วิธีการของระบบใบสำคัญมี 5 ขั้น วิธีการของระบบใบสำคัญมี 5 ขั้น 1. การจัดทำใบสำคัญ 2. การบันทึกใบสำคัญ 3. การเก็บใบสำคัญที่ยังไม่ได้จ่ายเงิน 4. การจ่ายเงินตามใบสำคัญ 5. การเก็บใบสำคัญที่จ่ายเงินแล้ว

การบันทึกบัญชีตามระบบใบสำคัญมี 2 ขั้น 1. การบันทึกรายการในทะเบียนใบสำคัญ บันทึกบัญชีโดย เดบิต ซื้อ สินทรัพย์ ค่าใช้จ่าย เงินกู้ ตั๋วเงินจ่าย 00 เครดิต ใบสำคัญจ่าย 00 2. บันทึกรายการในทะเบียนจ่ายเช็ค บันทึกบัญชีโดย เดบิต ใบสำคัญจ่าย 00 เครดิต ธนาคาร 00 ส่วนลดรับ 00

แบบประเมินผลการเรียนรู้หลังเรียนหน่วยที่5 จงพิจารณาเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการจัดทำระบบใบสำคัญ ก. เพื่อความสะดวก ข. เพื่อควบคุมการจ่ายเงิน ค. เพื่อบันทึกบัญชีง่ายขึ้น ง. ถูกทุกข้อ 2. บัญชีใบสำคัญจ่าย ใช้แทนบัญชีใด ก. หนี้สิน ข. สินทรัพย์ ค. ค่าใช้จ่าย ง. รายได้ 3. ทะเบียนใบสำคัญจ่ายใช้แทนข้อใดต่อไปนี้ ก. สมุดแยกประเภทรายตัวเจ้าหนี้ ข. สมุดรายวันซื้อ ค. สมุดรายวันจ่ายเงิน ง. สมุดรายวันทั่วไป 4. ทะเบียนจ่ายเช็คใช้แทนข้อใดต่อไปนี้ ค. สมุดรายวันจ่ายเงิน ง. สมุดรายวันทั่ว 5. การเก็บใบสำคัญที่ยังไม่ได้จ่ายเงินจะจัดเก็บไว้ที่ใด ก. แฟ้มใบสำคัญค้างจ่าย ข. แฟ้มใบสำคัญจ่าย ค. ทะเบียนจ่ายเช็ค ง. ทะเบียนใบสำคัญ

6. การจ่ายเงินตามใบสำคัญ จะนำไปบันทึกในข้อใด ก. แฟ้มใบสำคัญจ่าย ข. แฟ้มใบสำคัญจ่าย ค. ทะเบียนจ่ายเช็ค ง. ทะเบียนใบสำคัญ 7. เงินสดที่กิจการเบิกมาใช้จ่ายครั้งละเล็ก ๆ น้อย ที่มีผู้รักษาเงินสดย่อยรับผิดชอบเรียกว่าอะไร ก. เงินสด ข. เงินสดย่อย ค. เงินขาดบัญชี ง. เงินเกินบัญชี 8. ข้อใดคือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการเบิก และการจ่ายเงินสดย่อย ก. ใบสำคัญจ่าย ข. ใบสำคัญเงินสดย่อย ค. เงินสดย่อย ง. แฟ้มใบสำคัญจ่าย 9. ในกรณีที่เงินสดย่อยที่ตั้งไว้น้อยเกินไป กิจการควรปฏิบัติอย่างไร ก. เพิ่มวงเงินสดย่อย ข. ลดวงเงินสดย่อย ค. ตั้งวงเงินสดย่อย ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดคือข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการรับเงินหรือทอนเงินให้ลูกค้า ก. เงินขาด ข. เงินเกิน ค. เงินสดย่อย ง. ข้อ ก. และ ข.ถูกต้อง

จบแล้วจ้า อาจารย์ธนตวรรณ ขวัญแก้ว อาจารย์ธนตวรรณ ขวัญแก้ว 98/123 ถนนสรรพวุธ แขวงบางนา เขตบางนา กทม. 083-018-4571

ลูกสาวคนแรก ชื่อ เด็กหญิง ปุญญิศา ขวัญแก้ว ชื่อเล่น น้องมู่จัง ชื่อ เด็กหญิง ปุญญิศา ขวัญแก้ว ชื่อเล่น น้องมู่จัง เกิด 4 กุมภาพันธ์ 2546 ที่อยู่ 98/123 ซอยกุศลศิลป์ ถนนสรรพวุธ แขวงบางนา เขตบาง กทม10260

ลูกสาวคนรอง ชื่อเด็กหญิง ลักษิกา ขวัญแก้ว ชื่อเล่น น้องมู่ลี่ ชื่อเด็กหญิง ลักษิกา ขวัญแก้ว ชื่อเล่น น้องมู่ลี่ เกิด 13 ตุลาคม 2547 ที่อยู่ 98/123 ซอยกุศลศิลป์ แขวงบางนา เขตบางนา กทม.10260

ลูกสาวคนเล็ก ชื่อ เด็กหญิงฉันทพิชญา ขวัญแก้ว ชื่อเล่น น้องมู่หลาน ชื่อ เด็กหญิงฉันทพิชญา ขวัญแก้ว ชื่อเล่น น้องมู่หลาน เกิด 18 มกราคม 2551 ที่อยู่ 98/ 123 ซ.กุศลศิลป์ แขวงบางนา เขตบางนา กทม.10260 กลับหน้าหลัก