องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม การดำเนินงานในปี ๒๕๕๕ องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ๑. ประเด็นความสุข - สุขง่ายๆ แค่ปลายจมูก - ความสุข สร้างได้ - การสื่อสารข่าวสารเชิงบวก - สื่อสารความรู้สุขภาพจิตสู่ประชาชน ๒. ประเด็นความรู้สุขภาพจิต ๑๐ ประเด็น และกรอบแนวคิดการจัดทำสื่อสุขภาพจิตต้นแบบ(ใส่หัวข้อ) - วิกฤตสุขภาพจิต - ซึมเศร้า - ฆ่าตัวตาย - โรคจิต - แอลกอฮอล์ - IQ/EQ - ความสุข - ครอบครัว - พลังสุขภาพจิต - การให้คำปรึกษา จำนวนผู้เข้าร่วมทั้งหมด ๗๒ คน -จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน ๑๔ คน -จังหวัดสุโขทัย จำนวน ๑๓ คน -จังหวัดตาก จำนวน ๑๗ คน -จังหวัดพิษณุโลก จำนวน ๑๔ คน -จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน ๑๔ คน การดำเนินงาน ในปี ๒๕๕๕ จำนวน ๒ วัน วันที่ ๒๐-๒๑ มีนาคม ๒๕๕๕ ศูนย์ สุขภาพจิตที่ ๙
องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม การดำเนินงานในปี ๒๕๕๖ องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ๑. Social media ผลกระทบต่อสุขภาพจิต และการสื่อสารเพื่อส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ๒. สื่อสุขภาพจิตสำหรับการส่งเสริมสุขภาพจิตตามวัย (วัยเด็ก วัยเรียนและ วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยสูงอายุ) ๓. การส่งเสริมสุขภาพจิตตามวัย (วัยเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน และวัยสูงอายุ) จำนวนผู้เข้าร่วมทั้งหมด ๕๐ คน -จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน ๙ คน -จังหวัดสุโขทัย จำนวน ๑๓ คน -จังหวัดตาก จำนวน ๑๐ คน -จังหวัดพิษณุโลก จำนวน ๘ คน -จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน ๑๐คน การดำเนินงาน ในปี ๒๕๕๖ จำนวน ๒ วันวันที่ ๒๗ – ๒๘ กุมภาพันธ์ ศูนย์ สุขภาพจิตที่ ๙
องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม การดำเนินงานในปี ๒๕๕๗ องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ๑.การส่งเสริมสุขภาพจิตตามกลุ่มวัย (วัยเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน วัยสูงอายุ) ๒. กิจกรรมผ่อนคลาย ฝึกสติ สร้างความคิดด้านบวก ๓. สื่อเทคโนโลยีการส่งเสริมสุขภาพจิตตามกลุ่มวัย จำนวนผู้เข้าร่วมทั้งหมด ๔๙ คน -จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน ๑๒ คน -จังหวัดสุโขทัย จำนวน ๙ คน -จังหวัดตาก จำนวน ๙ คน -จังหวัดพิษณุโลก จำนวน ๙ คน -จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน ๑๐ คน การดำเนินงาน ในปี ๒๕๕๗ จำนวน ๒ วัน วันที่ ๒๐- ๒๑ กุมภาพันธ์ ศูนย์ สุขภาพจิตที่ ๙
ประเด็นความรู้สุขภาพจิตที่ต้องการพัฒนา (จากการสำรวจ) ร้อยละ ความรู้เรื่องโรคจิตเวช (โรคจิต ซึมเศร้า อารมณ์แปรปรวน ฆ่าตัวตาย) ๖๔.๔ สุขภาพจิตครอบครัว การส่งเสริมสุขภาพจิตตามกลุ่มวัย (๐-๕ ปี วัยเรียน วัยทำงาน และวัยสูงอายุ) ๕๕.๖ การให้คำปรึกษาสุขภาพจิต ๔๖.๗ วิกฤตสุขภาพจิต ๔๐.๐ ข้อมูลสถานบริการสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ๒๖.๗ ยาเสพติด (สุรา ยาบ้า ฯ) ๒๐.๐
องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม การดำเนินงานในปี ๒๕๕๘ องค์ความรู้สุขภาพจิตที่เข้าอบรม จังหวัด/จำนวนผู้เข้าร่วม ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ จำนวนผู้เข้าร่วมทั้งหมด คน -จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน คน -จังหวัดสุโขทัย จำนวน คน -จังหวัดตาก จำนวน คน -จังหวัดพิษณุโลก จำนวน คน -จังหวัดเพชรบูรณ์ จำนวน คน คณะ กรรมการสื่อมวลชนจังหวัดเพชรบูรณ์