มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

โรงเรียนพัฒนาสู่มาตรฐานสากล สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
การสร้างห้องเรียนคุณภาพ
การประเมินผลสถานศึกษา
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
PCTG Model อริยมงคล 55.
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
โครงการนิเทศเต็มพิกัดโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร โดย ปรีชา พาลุกา ศึกษานิเทศก์
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ O-NET
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
ปฏิบัติการขับเคลื่อน ห้องเรียนคุณภาพ
เพื่อรับการประเมินภายนอก
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
การติดตาม และประเมินโครงการ.
แล้วต้องทำอย่างไร ?.
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และบริบทของสถานศึกษา
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
การกำหนดเกณฑ์ ประเมินคุณภาพภายใน
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การวัดผล (Measurement)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
แนวปฏิบัติในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
หลักการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ - เพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสิน ผลการเรียน - สอดคล้องครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้ / ตัวชี้วัด - ดำเนินการหลากหลายวิธี เหมาะสมกับสิ่งวัด.
มาตรฐานตัวบ่งชี้ การประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
1 ครูได้รับการพัฒนาความรู้และสมรรถนะผ่านการปฏิบัติจริง และความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน ระดับสถานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.สุพักตร์ พิบูลย์...มสธ. ประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3

ท่านเห็นว่า เรื่องใดสำคัญที่สุด เรียงตามลำดับ(ใส่เลข 1 2 3) ท่านเห็นว่า เรื่องใดสำคัญที่สุด เรียงตามลำดับ(ใส่เลข 1 2 3) ........การวางแผน/จัดทำแผนจัดการเรียนรู้/แผนการสอน ........การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญ/ใช้วิธีสอนที่หลากหลาย ........การศึกษา ค้นคว้า พัฒนาวิธีการใหม่ ๆ เพื่อนำมาใช้ ในการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอน ........การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ........ การประกันคุณภาพการศึกษา

ขอบเขตการเสวนา มาตรฐานการปฏิบัติงาน คืออะไร สำคัญอย่างไร มาตรฐานการวัดและประเมินระดับสถานศึกษา มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินระดับรายวิชา/กลุ่มสาระ มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินระดับโรงเรียน มาตรฐานการวัด การประเมินและการประกันคุณภาพภายในระดับเขตพื้นที่การศึกษา มาตรฐานระบบควบคุมคุณภาพงานการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่ มาตรฐานระบบประกันคุณภาพภายในของเขตพื้นที่ มาตรฐานการวัด การประเมินและการประกันคุณภาพจากภายนอก(สทศ. และ สมศ.)

มาตรฐาน.. คืออะไร เป็นเงื่อนไขหรือแนวปฏิบัติสำหรับผู้รับผิดชอบงาน เพื่อให้งานมีคุณภาพ บรรลุตามจุดมุ่งหมายหรือพันธกิจขององค์กร มาตรฐานมักจะระบุครอบคลุม ในเรื่องต่อไปนี้ องค์ประกอบ ตัวชี้วัด และ เกณฑ์คุณภาพ

ยุคสังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ ยุคบริหารแบบอิงมาตรฐาน/ ยุคประกันคุณภาพ Standard-based Administration...บริหารงาน/ปฏิบัติงาน แบบอิงมาตรฐาน ใช้องค์ความรู้/หลักวิชาในการขับเคลื่อนองค์กร(Theory-Driven Approach)

การกำหนดมาตรฐาน เป็นเรื่องของการควบคุมคุณภาพงาน (Quality Control)

มาตรฐานเพื่อคุณภาพ (ใคร ๆ ก็พูดถึงมาตรฐาน) มาตรฐานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มาตรฐานงานส่งเสริมวิทยฐานะครู มาตรฐานครอบครัวอบอุ่น ฯลฯ --------------------------------------- มาตรฐานงานวัดและประเมินผล มาตรฐานงานประกันคุณภาพภายใน

มาตรฐานงานการวัดและประเมิน ระดับสถานศึกษา 1 มาตรฐานงานการวัดและประเมิน ระดับสถานศึกษา มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินระดับรายวิชา/กลุ่มสาระ มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินระดับโรงเรียน

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมิน ระดับรายวิชา/กลุ่มสาระ ความรู้ด้านการวัดและประเมินของครู การออกแบบการวัดและประเมินระดับรายวิชา(สัดส่วนคะแนน ผังการทดสอบกลางภาค ปลายภาค ปฏิทินการวัดและประเมิน) วิธีการวัด เครื่องมือวัด การให้ข้อมูลป้อนกลับ การเสริมสมรรถนะผู้เรียน การตัดสินผลการเรียน การวิจัยและพัฒนาระบบงานการวัดและประเมินผลรายวิชา(เช่น พัฒนาเครื่องมือวัดคู่ขนาน O-NET PISA เป็นต้น)

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินผล ระดับโรงเรียน -------------- มาตรฐานที่ 1 : ความพร้อมด้านปัจจัยสนับสนุนงานวัดและประเมินผล สมรรถนะของครูในเรื่องการวัดและประเมินผล ระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนงานวัดและประเมินผลของครู ปฏิทินงานการวัดและประเมินผลในรอบปี มาตรฐานที่ 2 : การบริหารจัดการงานการวัดและประเมินผลในภาพรวม อย่างเป็นระบบ จัดทำปฏิทินงานการวัดและประเมินผลในรอบปี การเตรียมการก่อนเปิดภาคเรียน(กำหนดว่าใคร ทำอะไร เมื่อไร) การกำกับติดตาม นิเทศ งานการวัดและประเมินผล ประเมินผล และรับรองมาตรฐานคุณภาพรายวิชาและกลุ่มสาระการเรียนรู้

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินผล ระดับโรงเรียน(ต่อ) -------------- มาตรฐานที่ 3 : ปฏิบัติการวัดผลระหว่างภาคและปลายภาค การให้ข้อมูลป้อนกลับแก่นักเรียนและซ่อมเสริม ในระดับรายวิชา/กลุ่มสาระอย่างเป็นระบบ ร้อยละของครูจำแนกตามกลุ่มสาระ ที่จัดทำแผนการวัดและประเมินในรายวิชา จัดทำผังข้อสอบกลางภาคและปลายภาคแบบอิงมาตรฐาน ร้อยละของรายวิชาที่มีการพัฒนาเครื่องมือวัด โดยมีการวิเคราะห์ดัชนีคุณภาพเครื่องมืออย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละของครูที่ให้ข้อมูลป้อนกลับแก่นักเรียนเป็นระยะ ๆ และแจ้งคะแนนระหว่างภาคแก่นักเรียนเป็นรายบุคคล ซ่อมเสริมนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ระหว่างภาค(ก่อนการสอบปลายภาค)

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินผล ระดับโรงเรียน(ต่อ) -------------- มาตรฐานที่ 4 : การวัดและประเมินคุณลักษณะ และทักษะตามที่หลักสูตรกำหนด มีการนิยามคุณลักษณะ หรือทักษะ อย่างเป็นรูปธรรม มีการพัฒนาเครื่องมือวัดคุณลักษณะหรือทักษะ โดยมีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือตามเกณฑ์ที่กำหนด มีฐานข้อมูลผลการวัดและประเมินคุณลักษณะ หรือทักษะของนักเรียนเป็นรายบุคคล มาตรฐานที่ 5 : ประสิทธิผลจากการวัดและประเมิน ความน่าเชื่อถือของเกรดผลการเรียน หรือผลการวัดและประเมินคุณลักษณะหรือทักษะของผู้เรียน สหสัมพันธ์ระหว่างเกรดเฉลี่ยกับคะแนน O-NET จำแนกตามกลุ่มสาระ มีรายงานการวิเคราะห์ผลการเรียนรายกลุ่มสาระ ที่ระบุข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงพัฒนาอย่างชัดเจน

มาตรฐานคุณภาพงานวัดและประเมินผล ระดับโรงเรียน(ต่อ) -------------- มาตรฐานที่ 6 : การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาระบบงานการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา รายงานการวิเคราะห์ วิจัยผลการวัดและประเมิน รายการนวัตกรรม/เครื่องมือวัด ทั้งประเภทแบบทดสอบ แบบวัดคุณลักษณะหรือทักษะ ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพตามเกณฑ์ ฐานข้อมูลเครื่องมือวัด หรือแนวคิดใหม่ ๆ ในการวัดและประเมิน

มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ งานการวัดและประเมินผล ของสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่ ------------------- มาตรฐานที่ 1 : ความพร้อมด้านปัจจัยสนับสนุนงานการวัดและประเมินผลแก่สถานศึกษา สมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลของศึกษานิเทศก์ ปฏิทินการนิเทศ ติดตามงานการวัดและประเมินผล ระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนงานวัดและประเมินผลแก่สถานศึกษา

มาตรฐานการควบคุมคุณภาพงานการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่(ต่อ) ------------------- มาตรฐานที่ 2 : การบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน พัฒนางานการวัดและประเมินผลแก่สถานศึกษา การสำรวจ วิเคราะห์ ปัญหาด้านการวัดและประเมินผลในรอบปี การจัดทำแผนงานโครงการเพื่อพัฒนางานการวัดและประเมินผลในรอบปี การจัดกิจกรรมและการนิเทศ เพื่อพัฒนางานด้านการวัดและประเมินผล การประเมินรับรองมาตรฐานด้านการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา การนิเทศและเสริมสมรรถนะสำหรับสถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองมาตรฐานด้านการวัดและประเมิน

มาตรฐานที่ 3 : ประสิทธิผลจากการพัฒนางานการวัดและประเมินผล มาตรฐานการควบคุมคุณภาพงานการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่(ต่อ) ------------------- มาตรฐานที่ 3 : ประสิทธิผลจากการพัฒนางานการวัดและประเมินผล ร้อยละของสถานศึกษาที่ทำการวิเคราะห์ผลการประเมินระดับชาติหรือระดับเขตพื้นที่แล้วจัดทำโครงการพัฒนารองรับอย่างเป็นรูปธรรม ร้อยละของสถานศึกษาที่เกรดผลการเรียนมีความน่าเชื่อถือหรือเชื่อถือได้ รายการนวัตกรรม หรือผลงานศึกษา วิจัย และพัฒนาด้านการวัดและประเมินผลที่มีการนำไปใช้ประโยชน์ ร้อยละของโรงเรียนที่ผ่านการรับรองมาตรฐานจาก สมศ.ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

ระบบประกันคุณภาพภายใน ของเขตพื้นที่ --------------- 2 มาตรฐาน ระบบประกันคุณภาพภายใน ของเขตพื้นที่ --------------- เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพ สำนักงานเขตพื้นที่

มาตรฐานระบบประกันคุณภาพภายในของเขตพื้นที่ --------------- มาตรฐานที่ 1 : ความพร้อมด้านปัจจัยสนับสนุนงานประกันคุณภาพภายใน สมรรถนะของทีมงานและเครือข่ายผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน คู่มือการดำเนินงานสำหรับผู้ดูแลระบบ และสำหรับสถานศึกษา ระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนงานประกันคุณภาพ แผนปฏิบัติการประเมินผลภายในระยะ 1 ปี และระยะ 5 ปี มาตรฐานที่ 2 : ความเป็นระบบ มีประสิทธิภาพของกระบวนการบริหารจัดการเพื่อการประกันคุณภาพภายใน การสร้างความตระหนักรู้ในเรื่องงานประกันคุณภาพและจุดเน้นในรอบปีแก่ผู้เกี่ยวข้องและสถานศึกษา การวางแผนและกำหนดปฏิทินการประเมินภายในในรอบปี และ5 ปี การตรวจสอบ ประเมินมาตรฐานภายใน การให้ข้อมูลป้อนกลับ การนิเทศ การผลักดันให้สถานศึกษาเกิดการพัฒนาต่อเนื่อง

มาตรฐานระบบประกันคุณภาพภายใน(ต่อ) มาตรฐานที่ 3 : ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน ร้อยละของสถานศึกษาที่ผ่านการรับรองมาตรฐานภายใน ข้อเสนอแนะจากการประเมินมีความเหมาะสม เป็นไปได้ มีผลต่อการยกระดับคุณภาพสถานศึกษา ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการวางแผนพัฒนาต่อเนื่อง ภายใน 60 วัน หลังทราบผลการประเมิน การเรียนรู้และพัฒนา/รายการองค์ความรู้ในฐานข้อมูล Best Practices จากการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา

Goal เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในสถานศึกษาและ สพท. พัฒนาฐานข้อมูล องค์ความรู้ Best Practices เพื่อสนับสนุนและผลักดันให้สถานศึกษาเกิดการพัฒนาต่อเนื่อง ไม่หยุดยั้ง ประเมินคุณภาพสถานศึกษาตามมาตรฐานที่กำหนด กำกับ ติดตาม นิเทศ เพื่อให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดทำแผนงาน โครงการ ให้รองรับ-สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา เสริมสร้างสมรรถนะของผู้เกี่ยวข้องในเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา กำหนดมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในสำหรับสถานศึกษาในเขตพื้นที่(รวมทั้งกำหนดมาตรฐานการบริหารจัดการ สพท.)

วัฒนธรรมคุณภาพ.....คืออะไร “บรรยากาศการทำงาน/การดำเนินชีวิต ที่ 1) มีการวิเคราะห์สภาพของตนเอง ณ วันนี้ 2) มีการกำหนดมาตรฐานคุณภาพ(กำหนดเป้าหมายที่ควรจะเป็น/ที่ต้องการ) 3) แสวงหาวิธีการเพื่อไปสู่เป้าหมาย แล้วปฏิบัติการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และ 4) มีการตรวจสอบความสำเร็จเป็นระยะ ๆ หากบรรลุผลสำเร็จก็จะกำหนดเป้าหมายคุณภาพใหม่หรือขยายระดับคุณภาพ ต่อไป”

มาตรฐานของ การประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) ----------------- 3 มาตรฐานของ การประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.) ----------------- มาตรฐานที่ 1 ความตรงของการประเมินคุณภาพภายนอกตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ สมศ.กำหนด (ตรงตามกติกา) มาตรฐานที่ 2 ความถูกต้องสมบูรณ์ของกระบวนการประเมิน(กระบวนการประเมินเฉียบคม) มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิผลของการประเมิน(สรุปผลได้ครบถ้วน ชัดเจน เป็นที่ยอมรับ) มาตรฐานที่ 4 ความเป็นไปได้และความเหมาะสมของข้อเสนอแนะ(แนะทางออกอย่างเฉียบคม)

มาตรฐาน การประเมินคุณภาพระดับชาติ(สทศ.) -------------- 4 มาตรฐาน การประเมินคุณภาพระดับชาติ(สทศ.) -------------- มาตรฐานที่ 1 : ความตรงของการประเมิน(ตรงตามมาตรฐานการเรียนรู้-ตรงตามหลักสูตร) มาตรฐานที่ 2 : ความถูกต้องสมบูรณ์ของกระบวนการประเมิน กระบวนการพัฒนาแบบทดสอบ กระบวนการสอบ/บริหารการสอบ การแปลผลและนำเสนอผลการประเมิน มาตรฐานที่ 3 ประสิทธิผลของการประเมิน การยอมรับผลการประเมินจากผู้เกี่ยวข้อง การนำผลการประเมินไปใช้ พัฒนาการของผลสัมฤทธิ์

เชิญ...อภิปราย ครับ