ฐานข้อมูล ISI Web of Science จัดทำโดย กลุ่ม ลมุศิตา (สาขาวิชาการบัญชี) 1. นางสาวจันทร์หอม บุญโสม รหัส 55633501007 2. นางสาวยุพิน หารไกร รหัส 55633501016 3. นางสาววงเดือน สวัสดิ์เอื้อ รหัส 55633501017 4. นางสาวศรีสุดา เทียมวงค์ รหัส 55633501018 5. นางสาวสุรินทรา อินธิสอน รหัส 55633501021 6. นางสาวธนวรรณ ทองนรินทร์ รหัส 5563350102 เสนอ อาจารย์ วรพจน์ พรหมจักร สวัสดีค่ะ ขอนำเสนอฐานข้อมูล ISI Web of Science หรือที่เราเรียกกันว่า “Web of Science”
เนื้อหาการบรรยาย ISI Web of Science คืออะไร? ทำไม ต้องลงทะเบียนการเข้าใช้? การลงทะเบียน [Register] การหาแบบ Search การค้นหาแบบ Cited Reference Search การสืบค้นข้อมูล เนื้อหาในการบรรยาย ประกอบด้วย การทำความรู้จักกับ Web of Science ว่าคืออะไร แล้วเราจะเข้าใช้ได้อย่างไร ทำไมเราต้องลงทะเบียนการเข้าใช้ด้วย การสืบค้นข้อมูลจาก Web of Science ทั้งการหาแบบ Search และการหาแบบ Cited Reference Search การจัดการผลลัพธ์ รวมถึงเทคนิคการสืบค้นข้อมูล และสุดท้ายก็จะเป็นการหาค่า Impact factor การจัดการผลลัพธ์ เทคนิคการสืบค้น การหาค่า Impact factor การเอกสารฉบับเต็มจาก DOI / Crossref
ISI Web of Science คืออะไร เป็นฐานข้อมูลอ้างอิง (Citation Database) ที่ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและสาระสังเขปของรายการอ้างอิง และรายการที่อ้างถึง เป็นฐานข้อมูลสหสาขาวิชา ครอบคลุมทุกกลุ่มสาขาวิชาไม่ว่าจะเป็นวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษย์ศาสตร์ จากวารสารมากกว่า 10,000 รายชื่อ ให้ข้อมูลตั้งแต่ ปี 2001 – ปัจจุบัน ฐานข้อมูล Web of Science มีลักษณะเป็น Citation Database หรือที่เรียกกันว่า ฐานข้อมูลอ้างอิง จะให้เฉพาะข้อมูลทางบรรณานุกรมและสาระสังเขปของรายการอ้างอิง และรายการที่อ้างถึง เป็นฐานข้อมูลสหสาขาวิชาที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชาจากวารสารกว่า 10,000 รายชื่อ ให้ข้อมูลตั้งแต่ปี 2001 – ปัจจุบัน ลักษณะของข้อมูลที่ให้บริการจะไม่มีเอกสารฉบับเต็ม สามารถสืบค้นได้โดยไม่จำกัดจำนวนผู้เข้าใช้ ลักษณะของข้อมูลที่ให้บริการจะเป็นรูปแบบรายการบรรณานุกรม และสาระสังเขป ในรูปแบบของ HTML โดยไม่มีบริการเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) สามารถสืบค้นได้โดยไม่จำกัดจำนวนผู้ใช้
ทำไม เราต้องใช้ ISI Web of Science เนื่องจาก Web of Science เป็นฐานข้อมูลที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลการตีพิมพ์ งานวิจัยของนักวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ ฉะนั้น ข้อมูลที่เราจะสืบค้นได้ ก็จะเป็นข้อมูลที่ว่า นักวิจัยคนหนึ่งมีผลงานตีพิมพ์กี่รายการ อะไรบ้าง อยู่ใน วารสารฉบับไหน แต่ละรายการมีการใช้รายการอ้างอิงเท่าไหร่ ซึ่งจะตีความได้ว่า นักวิจัยเรื่องนั้น ได้ศึกษา ค้นคว้าเรื่องนั้นมากน้อยแค่ไหน นอกจากนี้ยังให้ข้อมูล ว่าแต่ละรายการได้รับการอ้างถึง (Cited) เท่าใด ใครนำไปอ้างถึงบ้าง ซึ่ง จำนวนการอ้างถึงผลงานวิจัยก็เป็นเสมือนเป็นการให้คะแนนความมีคุณค่าของ ผลงานวิจัยชิ้นนั้น ยิ่งมีการนำไปอ้างถึงมาก ยิ่งทำให้ตีความได้ว่า งานวิจัยนั้น ได้รับการยอมรับ นอกจากนี้ Web of Science ยังสามารถใช้สืบค้น Impact Factor ของวารสารได้อีกต้วย หลายคนอาจจะสงสัยว่า ในเมื่อไม่มี Full Text แล้วทำไม เราต้องใช้ Web of Science นั่นก็เป็นเพราะ Web of Science เป็นฐานข้อมูลที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลการตีพิมพ์งานวิจัยของนักวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ ฉะนั้น ข้อมูลที่เราจะสืบค้นได้ก็จะเป็นข้อมูลที่ว่า นักวิจัยคนหนึ่งมีผลงานตีพิมพ์กี่รายการ อะไรบ้าง อยู่ในวารสารฉบับไหน แต่ละรายการมีการใช้รายการอ้างอิงเท่าไหร่ ซึ่งจะตีความได้ว่า นักวิจัยเรื่องนั้น ได้ศึกษา ค้นคว้าเรื่องนั้นมากน้อยแค่ไหน นอกจากนี้ยังให้ข้อมูลว่าแต่ละรายการได้รับการอ้างถึง(Cited) เท่าใด ใครนำไปอ้างถึงบ้าง ซึ่งจำนวนการอ้างถึงผลงานวิจัยก็เป็นเสมือนเป็นการให้คะแนนความมีคุณค่าของผลงานวิจัยชิ้นนั้น ยิ่งมีการนำไปอ้างถึงมาก ยิ่งทำให้ตีความได้ว่า งานวิจัยนั้นได้รับการยอมรับ นอกจากนี้ Web of Science ยังสามารถใช้สืบค้น Impact Factor ของวารสารได้อีกต้วย
เข้าใช้ ISI Web of Science ได้อย่างไร นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ดสามารถเข้าใช้บริการฐานข้อมูล ISI Web of Science ได้จาก ทุกสำนักวิชา /หน่วยงาน / หอพักนักศึกษา หรือผ่านระบบเครือข่าย ไร้สาย (Wireless LAN) ภายในมหาวิทยาลัยภายใต้ระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย ส่วนกรณีใช้ที่บ้านหรือที่ทำงานนอกมหาวิทยาลัยให้ใช้ผ่านระบบ SSL VPN สามารถ Download โปรแกรมและคู่มือการติดตั้งได้ที่ http://www.mfu.ac.th/center/lib นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงสามารถเข้าใช้บริการฐานข้อมูล Web of Science ได้จากทุกสำนักวิชา/หน่วยงาน/หอพักนักศึกษา หรือผ่านระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN) ภายในมหาวิทยาลัยภายใต้ระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย ส่วนกรณีใช้ที่บ้านหรือที่ทำงานนอกมหาวิทยาลัยให้ใช้ผ่านระบบ SSL VPN สามารถ Download โปรแกรมและคู่มือการติดตั้งได้ที่ http://www.mfu.ac.th/center/lib/DB%20PPT/How%20to%20connect%20MFU%20internet%20from%20outside.pdf โดยใช้ Username และ Password ที่ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศออกให้
ทำไม ต้องลงทะเบียนการเข้าใช้ การใช้ฐานข้อมูล ISI Web of Science ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ฐานได้เลยไม่ จำเป็นต้องลงทะเบียน ถ้าใช้ผ่านระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย แต่การ ลงทะเบียนก็จะทำให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการเสริมอื่นๆ ของ ISI Web of Science ได้ เช่น - การ Save Search - การใช้ E-mail Alerts - การเก็บ Marked List - การใช้ Endnote Web ฯลฯ โดยทั่วไปการใช้ฐานข้อมูล ISI Web of Science ผู้ใช้สามารถเข้าใช้ฐานได้เลยไม่จำเป็นต้องลงทะเบียน ถ้าใช้ผ่านระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย แต่การลงทะเบียนก็จะทำให้ผู้ใช้สามารถใช้บริการเสริมอื่นๆ ของ ISI Web of Science ได้ เช่น การ Save Search, การใช้ E-mail Alerts, การเก็บ Marked List, การใช้ Endnote Web ฯลฯ
การลงทะเบียน [Register] ในการลงทะเบียนให้ไปที่หน้า Home เลือกหัวข้อ Customize your Experience จากนั้นให้คลิกที่ Register ระบบจะให้ตรวจสอบe-mail โดยพิมพ์ e-mail ที่เราจะใช้สมัครพร้อมยืนยัน จากนั้นให้ คลิก Continue จากหน้า HOME การลงทะเบียนเป็นสมาชิก ให้ใช้เม้าท์คลิกที่ Register
การลงทะเบียน [Register] ระบบจะให้ตรวจสอบ e-mail ที่เราจะใช้สมัคร เมื่อพบว่ายังไม่เคยสมัคร ให้กรอกข้อมูลส่วนตัวลง ในแบบฟอร์มและบท การ Submit หมายเหตุ - หัวข้อที่มี * สีแดงหมายถึงต้อง กรอกข้อมูลในช่องนั้นให้ครบหากไม่ ใส่จะไม่สามารถลงทะเบียนได้ - การตั้งรหัสผ่าน ใช้อักษร 8 ตัว ขึ้นไป และประกอบไปด้วยตัวเลข ตัวอักษร และอักขระพิเศษ เช่น @ < > เป็นต้น เมื่อพบว่ายังไม่เคยสมัครให้กรอกข้อมูลส่วนตัวลงในแบบฟอร์มและทำการ Submit ข้อควรระวัง ก็คือ หัวข้อที่มี * สีแดงหมายถึง ต้องกรอกข้อมูลในช่องนั้นให้ครบหากไม่ใส่จะไม่สามารถลงทะเบียนได้ และการตั้งรหัสผ่านต้องใช้อักษร 8 ตัวขึ้นไป และต้องประกอบไปด้วยตัวเลข ตัวอักษร และอักขระพิเศษ เช่น @ < >
การสืบค้นข้อมูล การค้นหาข้อมูลใน ISI Web of Science จำแนกออกเป็น 2 รูปแบบ ใหญ่ๆ ดังนี้ 1. Search เป็นการค้นหาบทความจากคำสำคัญในหัวเรื่อง ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง ชื่อวารสาร เป็นต้น 2. Cited Reference Search เป็นการค้นหาข้อมูลที่บทความนำมา อ้างอิง ซึ่งอาจเป็นบทความ หนังสือ หรือ สิทธิบัตร เป็นต้น หรือ ต้องการค้นหาว่ามีใครนำผลงานนี้ไปอ้างอิงในบทความบ้าง เมื่อลงทะเบียนแล้วก็มาถึงขั้นตอนของการสืบค้น การสืบค้นของ Web of Science จะจำแนกออกเป็น 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. Search เป็นการค้นหาบทความจากคำสำคัญตามเขตคำค้นที่กำหนด เช่น หัวเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ปีพิมพ์ เป็นต้น 2. Cited Reference Search เป็นการค้นหาข้อมูลที่บทความนำมาอ้างอิง ซึ่งอาจเป็นบทความ หนังสือ หรือ สิทธิบัตร เป็นต้น หรือ ต้องการค้นหาว่ามีใครนำผลงานนี้ไปอ้างอิงในบทความ
การค้นหาแบบ Search 1. พิมพ์คำหรือวลีลงในช่องรับคำค้น 2. ระบุเขตข้อมูลที่ต้องการสืบค้น เช่น Topic, Title, Author, Publication Name, Address เป็นต้น 3. ระบุคำเชื่อมหากมีคำค้นมากกว่า 1 คำ 4. คลิกที่ Change Limits เพื่อเลือก ช่วงเวลาตีพิมพ์ของเอกสารจากส่วน Timespan และ เลือกฐานข้อมูลที่จะใช้ใน การสืบค้นจากส่วน Citation Databases 5. คลิก Search เพื่อสืบค้นข้อมูล *Topic = ค้นจากทุกเขตข้อมูลใน บรรณานุกรมรวมถึงบทคัดย่อ การต้นหาแบบ Search ให้คลิกที่ Search ที่เมนู จากนั้น พิมพ์คำหรือวลีลงในช่องรับคำค้น ระบุเขตข้อมูลที่ต้องการสืบค้น เช่น ค้นจาก Topic คือ ค้นจากทุกเขตข้อมูลใน บรรณานุกรมรวมถึงบทคัดย่อ ค้นจากTitle, Author, Publication Name หรือ Address เป็นต้น เลือกระบุคำเชื่อมหากมีคำค้นมากกว่า 1 คำ จากนั้น คลิกที่ Change Limits เพื่อเลือก ช่วงเวลาตีพิมพ์ของเอกสารจากส่วน Timespan และ เลือกฐานข้อมูลที่จะใช้ใน การสืบค้นจากส่วน Citation Databases แล้วก็คลิก Search
หน้าแสดงผลลัพธ์ของ Search 1. แสดงจำนวนผลลัพธ์ที่พบ 2. สืบค้นเฉพาะภายในรายการผลลัพธ์ปัจจุบัน จากส่วน Search within results for เพื่อจำกัดผลลัพธ์ให้แคบลง โดยพิมพ์คำหรือวลี และคลิกที่ปุ่ม Search 3. Refine Results เป็นการปรับปรุงหรือกรองผลลัพธ์ที่ได้จากการสืบค้นเดิมให้แคบลงได้จาก โดยเลือกรูปแบบในการแสดงผล เช่น Subject Areas, Document Types, Authors, Source Titles, Publication Years, Institutions, Languages, Countries/Territories โดยคลิกเครื่องหมายถูกหน้าหัวเรื่องที่ต้องการ หรือคลิกที่ more เพื่อแสดงหัวเรื่องทั้งหมด จากนั้นคลิกที่ Refine เพื่อแสดงผล ผลลัพธ์ที่ได้จะประกอบไปด้วย 1. แสดงจำนวนผลลัพธ์ที่พบ 2. สืบค้นเฉพาะภายในรายการผลลัพธ์ปัจจุบัน จากส่วน Search within results for เพื่อจำกัดผลลัพธ์ให้แคบลง โดยพิมพ์คำหรือวลี และคลิกที่ปุ่ม Search 3. Refine Results เป็นการปรับปรุงหรือกรองผลลัพธ์ที่ได้จากการสืบค้นเดิมให้แคบลงได้จาก โดยเลือกรูปแบบในการแสดงผล เช่น Subject Areas, Document Types, Authors, Source Titles, Publication Years, Institutions, Languages, Countries/Territories โดยคลิกเครื่องหมายถูกหน้าหัวเรื่องที่ต้องการ หรือคลิกที่ more เพื่อแสดงหัวเรื่องทั้งหมด จากนั้นคลิกที่ Refine เพื่อแสดงผล 4. เลือกจัดการผลลัพธ์ที่ค้นพบได้หลายรูปแบบ เช่น สั่งพิมพ์, ส่งทาง E-mail, จัดเก็บรายการ, บันทึกข้อมูล, ส่งออกรายการบรรณานุกรม เป็นต้น 5. คลิกที่ Sort by เพื่อจัดเรียงลำดับผลลัพธ์ใหม่ตาม Latest Date, Times Cited, Relevance, First Author, Source Title, Publication Year เป็นต้น 6. คลิกที่บทความเพื่อดูข้อมูลโดยละเอียด หรือคลิกที่ตัวเลขที่ Times Cited เพื่อดูรายการบทความที่อ้างถึง 4. เลือกจัดการผลลัพธ์ที่ค้นพบได้หลายรูปแบบ เช่น สั่งพิมพ์, ส่งทาง E-mail, จัดเก็บรายการ, บันทึกข้อมูล, ส่งออกรายการบรรณานุกรม เป็นต้น 5. คลิกที่ Sort by เพื่อจัดเรียงลำดับผลลัพธ์ใหม่ตาม Latest Date, Times Cited, Relevance, First Author, Source Title, Publication Year เป็นต้น 6. คลิกที่บทความเพื่อดูข้อมูลโดยละเอียด หรือคลิกที่ตัวเลขที่ Times Cited เพื่อดูรายการบทความที่อ้างถึง
การค้นหาแบบ Cited Reference Search เลือกสืบค้นจากหน้า Home 1. คลิกที่ Cited Reference Search 2. Cited Author: พิมพ์นามสกุล หรือ ตามด้วยอักษรแรกของผู้แต่งที่ต้องการค้นหา 3. Cited Work: พิมพ์อักษรย่อของชื่อสิ่งพิมพ์ หรือ คลิกที่ journal abbreviation list เพื่อตรวจอักษรย่อจากรายการของชื่อสิ่งพิมพ์ 4. Cited Year(s): พิมพ์ปี หรือช่วงของปีที่ตีพิมพ์ 5. คลิกที่ Search ส่วนการค้นแบบ Cited Reference Search คลิกเลือกเมนู Cited Reference Search เลือกค้น จาก 1. Cited Author: พิมพ์นามสกุล หรือ ตามด้วยอักษรแรกของผู้แต่งที่ต้องการค้นหา 2. Cited Work: พิมพ์อักษรย่อของชื่อสิ่งพิมพ์ หรือ คลิกที่ journal abbreviation list เพื่อตรวจอักษรย่อจากรายการของชื่อสิ่งพิมพ์ 3. Cited Year(s): พิมพ์ปี หรือช่วงของปีที่ตีพิมพ์ จากนั้นให้คลิกที่ Search สำหรับเครื่องหมาย (แว่นขยาย) หมายถึงเราสามารถที่จะ Search หาข้อมูลที่ถูกต้องเพื่อเพิ่มไปในคำค้นได้เลย
ผลลัพธ์ของ Cited Reference Search 1. คลิกที่ช่องหน้า Record ที่ต้องการเลือกได้มากกว่าหนึ่ง และคลิกที่ปุ่ม Finish Search เพื่อเรียกดูรายการบทความที่อ้างถึง (Citing Article) 2. Cited Author : รายชื่อผู้แต่งที่ได้รับการอ้างอิง 3. Cited Work : ชื่อของสิ่งพิมพ์ ซึ่ง สามารถเรียกแสดงชื่อเรื่องไปพร้อมกันด้วย คลิกที่ Show Expanded Titles 4. Year : ปีที่พิมพ์ 5. Volume : เล่มที่ Volume 6. Page : เลขหน้า 7. Citing Articles : จำนวนครั้งที่บทความ (Record) นี้ได้รับการอ้างถึง 8. คลิกที่ View Record ในรายการที่ปรากฏ เพื่อดูข้อมูลโดยละเอียด ผลลัพธ์ของ Cited Reference Search ประกอบไปด้วย 1. คลิกที่ช่องหน้า Record ที่ต้องการเลือก ได้มากกว่าหนึ่ง และคลิกที่ปุ่ม Finish Search เพื่อเรียกดูรายการบทความที่อ้างถึง (Citing Article) 2. Cited Author : รายชื่อผู้แต่งที่ได้รับการอ้างอิง 3. Cited Work : ชื่อของสิ่งพิมพ์ ซึ่ง สามารถเรียกแสดงชื่อเรื่องไปพร้อมกันด้วย คลิกที่ Show Expanded Titles 4. Year : ปีที่พิมพ์ 5. Volume : เลข Volume 6. Page : เลขหน้า 7. Citing Articles : จำนวนครั้งที่บทความ (Record) นี้ได้รับการอ้างถึง 8. คลิกที่ View Record ในรายการที่ปรากฏ เพื่อดูข้อมูลโดยละเอียด
การแสดงหน้าจอบทคัดย่อ 1. รายละเอียดของบทความ ประกอบด้วย ชื่อบทความ ผู้แต่ง แหล่งข้อมูล 2. Times Cited : จำนวนการถูกอ้างอิง (เฉพาะในฐานข้อมูล Web of Science) 3. Cited References: จำนวนเอกสารที่นำมาอ้างอิง 4. บทคัดย่อและรายละเอียดของบทความ 5. จำนวนและรายละเอียดของบทความที่นำไปอ้างอิงทั้งหมด 6. จำนวนและบทความที่นำมาอ้างอิง การแสดงหน้าจอบทคัดย่อ ประกอบไปด้วย 1. รายละเอียดของบทความ ประกอบด้วย ชื่อบทความ ผู้แต่ง แหล่งข้อมูล 2. Times Cited : จำนวนการถูกอ้างอิง (เฉพาะในฐานข้อมูล Web of Science) 3. Cited References: จำนวนเอกสารที่นำมาอ้างอิง 4. บทคัดย่อและรายละเอียดของบทความ 5. จำนวนและรายละเอียดของบทความที่นำไปอ้างอิงทั้งหมด 6. จำนวนและบทความที่นำมาอ้างอิง
Print/E-mail/Save/Export Reference การจัดการผลลัพธ์ Print/E-mail/Save/Export Reference 1. คลิกเลือกหน้ารายการที่ต้องการ 2. เลือกรูปแบบการจัดการผลลัพธ์ เก็บไว้ใน Marked List Print E-mail การ export สู่โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม เมื่อเราทำการ Log in เพื่อใช้บริการแล้วก็จะสามารถจัดการผลลัพธ์ได้ ไม่ว่าจะเป็นการ Print, E-mail, Save หรือ Export Reference โดยการเลือกไปในรายการที่เราต้องการ จากนั้นให้ทำการเลือกรูปแบบการจัดการผลลัพธ์ ที่อยู่เมนูด้านบน
เทคนิคการสืบค้น ตัวเชื่อมเพื่อสร้างเงื่อนไขการสืบค้น คือ AND OR NOT SAME การค้นหากลุ่มคำ หรือ วลี ให้ใช้เครื่องหมาย “...” อัญประกาศ เพื่อกำหนดลำดับและตำแหน่งของ กลุ่มคำไม่ให้แยกคำ เครื่องหมายพิเศษที่ช่วยการการสืบค้น ? ใช้แทนตัวอักษรหนึ่งตัวอักษร โดยให้วางตำแหน่งกลางหรือ ท้ายคำ เช่น Fib?? จะพบทั้ง Fibre และ Fiber * การละตัวอักษรตั้งแต่ศูนย์ตัวอักษรขึ้นไป โดยให้วางตำแหน่งกลางหรือ ท้ายคำ เช่น S*food จะพบทั้ง Seafood และ Soyfood $ แทนที่ศูนย์ตัวอักษรหรือหนึ่งตัวอักษรเท่านั้น เช่น Col$r จะพบทั้ง Color และ Colour (…) ใช้เพื่อจัดลำดับการสืบค้นก่อนหรือหลัง เช่น Rabies AND (cat OR dog) ระบบจะสืบค้นบทความที่มี cat หรือ dog ก่อน จากนั้นจึงจะค้นหา Rabies สำหรับเทคนิคการสืบค้นฐานข้อมูล Web of Science ก็จะมีอยู่ 3 ประเภทใหญ่ ๆ ก็คือ 1. ตัวเชื่อมเพื่อสร้างเงื่อนไขการสืบค้น คือ AND OR NOT SAME 2. การค้นหากลุ่มคำ หรือ วลี ให้ใช้เครื่องหมาย “...” อัญประกาศ เพื่อกำหนดลำดับและตำแหน่งของกลุ่มคำไม่ให้แยกคำ 3. เครื่องหมายพิเศษที่ช่วยการการสืบค้น ? ใช้แทนตัวอักษรหนึ่งตัวอักษร โดยให้วางตำแหน่งกลางหรือท้ายคำ เช่น Fib?? จะพบทั้ง Fibre และ Fiber * การละตัวอักษรตั้งแต่ศูนย์ตัวอักษรขึ้นไป โดยให้วางตำแหน่งกลางหรือท้ายคำ เช่น S*food จะพบทั้ง Seafood และ Soyfood $ แทนที่ศูนย์ตัวอักษรหรือหนึ่งตัวอักษรเท่านั้น เช่น Col$r จะพบทั้ง Color และ Colour (…) ใช้เพื่อจัดลำดับการสืบค้นก่อนหรือหลัง เช่น Rabies AND (cat OR dog) ระบบจะสืบค้นบทความที่มี cat หรือ dog ก่อน จากนั้นจึงจะค้นหา Rabies
Impact Factor Impact Factor คือ ค่าความถี่ที่บทความในวารสารนั้น ได้รับการอ้างอิงในแต่ละปี ซึ่งโดยปกติจะใช้ย้อนหลัง ประมาณ 2 ปี ถือว่าเป็นเครื่องมือในการประเมินคุณภาพ ของบทความหรือจัดอันดับวารสาร Impact Factor คือ ค่าความถี่ที่บทความในวารสารนั้น ได้รับการอ้างอิงในแต่ละปีซึ่งโดยปกติจะใช้ย้อนหลังประมาณ 2 ปี ถือว่าเป็นเครื่องมือในการประเมินคุณภาพของบทความหรือจัดอันดับวารสาร สำหรับ Web of Science นั้นก็สามารถใช้หาค่า Impact Factor ได้ด้วยเช่นกัน โดยมีวิธีการดังนี้
เอกสารฉบับเต็ม สาสามารถสืบค้นหาเอกสารฉบับเต็มได้จาก 1. http://www.doi.org/ 2. http://www.crossref.org/ จากที่ได้แจ้งเบื้องต้นว่า Web of Science เป็นฐานข้อมูลอ้างอิง ไม่มีให้บริการ Full Text แต่อย่างไรก็ตามด้วยความร่วมมือกับสำนักพิมพ์มากมาย ทำให้บทความวารสารในฐานข้อมูล Web of Science บางรายการสามารถได้เอกสารฉบับเต็มโดยสามารถหาได้ 2 ช่องทาง ดังนี้ 1. นำ DOI ของบทความวารสารไปหาจาก http://www.doi.org/ 2. เอาบรรณานุกรมไปหาจาก http://www.crossref.org/
ตัวอย่างเอกสารฉบับเต็มจากหมายเลข DOI (Digital Object Identifier ) เป็นชื่อรหัสมาตรฐานของทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจิทัล โดยรหัสดังกล่าวมีทั้งตัวเลขและตัวอักษร กำหนดขึ้นมาเพื่อใช้ระบุตำแหน่งหรือที่อยู่ (URL) ของทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ให้สามารถค้นหาทรัพยากรสารสนเทศ เช่น บทความ วารสาร หนังสือ และทรัพย์สินทางปัญญาต่างๆ ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ การค้นหาด้วยหมายเลข DOI ทำได้โดย 1. เข้าไปยังเว็บไซด์ http://www.doi.org/ 2. นำหมายเลข DOI ที่ได้จากฐานข้อมูลมาสืบค้นในเมนู Resolve a DOI Name จากนั้น กด Submit ก่อนอื่นมาทำความรู้จักกับหมายเลข DOI กันก่อนนะคะ DOI ย่อมาจาก Digital Object Identifier ซึ่งเป็นรหัสรหัสมาตรฐานของทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจิทัล โดยรหัสดังกล่าวมีทั้งตัวเลขและตัวอักษร กำหนดขึ้นมาเพื่อใช้ระบุตำแหน่งหรือที่อยู่ (URL) ของทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ให้สามารถค้นหาทรัพยากรสารสนเทศ เช่น บทความ วารสาร หนังสือ และทรัพย์สินทางปัญญาต่างๆ ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ การค้นหาด้วยหมายเลข DOI ทำได้โดย 1. เข้าไปยังเว็บไซด์ http://www.doi.org 2. นำหมายเลข DOI ที่ได้จากฐานข้อมูลมาสืบค้นในเมนู Resolve a DOI Name จากนั้น กด Submit
ตัวอย่างจาก Web of Science ค้นหาเอกสารที่ต้องการ จากนั้น นำหมายเลข DOI ไป Search เพื่อหาเอกสารฉบับเต็มจาก http://www.doi.org/ จากตัวอย่างเวลาที่เราค้นหาจาก Web of Science คือ หลังจากที่เราพิมพ์คำค้นและได้ผลลัพธ์ที่ต้องการแล้ว ให้เราไปหาหมายเลข DOI จากรายละเอียดของบทความ ลักษณะของหมายเลข DOI ประกอบด้วยตัวเลขหรือตัวอักษรสองส่วน เมื่อได้หมายเลข DOI บทความที่เราต้องการหา Full Text แล้วให้นำไปสืบค้นจาก http://www.doi.org/ ถ้าพบเอกสารฉบับเต็ม จะลิงค์ไปยังหน้าเอกสารฉบับเต็มทันที 2. นำหมายเลข DOI ไป Search เพื่อหาเอกสารฉบับเต็มจาก http://www.doi.org/
ตัวอย่างจาก Web of Science (ต่อ) Full Text ที่ได้จาก BioOne Full Text ที่ได้จาก BioOne
เอกสารฉบับเต็มจากบรรณานุกรมจาก Crossref Crossref เป็นความร่วมมือกันของสำนักพิมพ์ชั้นนำมากกว่า 380 แห่ง เป็นองค์กรที่ไม่หวังผลกำไร ดังนั้นจึงทำให้ผู้ใช้บริการสามารถ สืบค้นสิ่งพิมพ์ บทความวารสารไปยังกลุ่มสำนักพิมพ์ที่เป็นสมาชิก ครอบคลุมบทความมากกว่า 1 ล้านบทความ การ ค้นหาเอกสารจาก Crossref สามารถทำได้ดังนี้ ค้นหาจากเลข DOI โดยเข้าไปที่ http://www.crossref.org จากนั้นก็นำหมายเลข DOI ค้นหาจากเมนู DOI Resolver จากนั้นก็กด Submit 2. ระบบจะลิงค์ไปยังเว็บที่ให้บริการ Full text อีกวิธีคือการค้นจาก Crossref ซึ่งเป็นความร่วมมือกันของสำนักพิมพ์ชั้นนำมากกว่า 380 แห่ง เป็นองค์กรที่ไม่หวังผลกำไร ดังนั้นจึงทำให้ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นสิ่งพิมพ์ บทความวารสารไปยังกลุ่มสำนักพิมพ์ที่เป็นสมาชิก ครอบคลุมบทความมากกว่า 1 ล้านบทความ การค้นหาเอกสารจาก Crossref สามารถทำได้ดังนี้ 1. ค้นหาจากเลข DOI โดยเข้าไปที่ http://www.crossref.org จากนั้นก็นำหมายเลข DOI ค้นหาจากเมนู DOI Resolver จากนั้นก็กดSubmit 2. ระบบจะลิงค์ไปยังเว็บที่ให้บริการ Full text
เอกสารฉบับเต็มจากบรรณานุกรมจาก Crossref (ต่อ) ค้นหาจากรายละเอียดทางบรรณานุกรม โดยเข้าไปที่ http://www.crossref.org จากนั้นก็ไปยังเมนู FOR RESEARCHERS เลือก Free DOI name look up หรือถ้าไม่มีเลข DOI แต่มีรายละเอียดทางบรรณานุกรมของบทความที่เราต้องการก็ให้เข้าไปค้นในเมนู FOR RESEARCHERS เลือก Free DOI name look up Search จากชื่อผู้แต่งและชื่อบทความจากเมนู Search on article title จากนั้น กด Search 2. Search จากชื่อผู้แต่งและชื่อบทความจากเมนู Search on article title จากนั้น กด Search
เอกสารฉบับเต็มจากบรรณานุกรมจาก Crossref (ต่อ) 3. ปรากฎลิงค์เพื่อนำไปสู่บทความ Full Text จะปรากฎลิงค์เพื่อนำไปสู่บทความ Full Text ซึ่งจากตัวอย่างก็ได้มาจากฐานข้อมูล SpringerLink Link Full Text จาก SpringerLink
การเปรียบเทียบระหว่าง ฐานข้อมูล ISI Web of Science และฐานข้อมูล ScienceDirect
ข้อเปรียบเทียบ 1. ทันสมัยกว่าโปรแกรม Science Direct 2. เลือกชื่อวารสารได้มากกว่า Science Direct เช่น วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ 3. สามารถสืบค้นได้โดยมาจำกักผู้ใช้งาน 4. ผู้ใช้สามารถใช้ฐานข้อมูลได้เลยไม่จำเป็นต้องลงทะเบียนถ้า ใช้ผ่านระบบเครือข่ายของมหาลัย 5. สามารถสืบค้นการตีพิมพ์งานวิจัยของนักวิจัยในวารสาร ระดับนานาชาติ
ข้อดี ISI Web of Science 1. เป็นฐานข้อมูลที่ทันสมัยต่อการใช้งาน 2. เป็นฐานข้อมูลครอบคลุมทุกกลุ่มสาขาวิชาไม่ว่าจะเป็น วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ จากวารสาร มากกว่า 1 หมื่นรายวิชา 3. เป็นฐานข้อมูลที่สามารถสืบค้นไม่จำกัดผู้ใช้ 4. สามารถสืบค้นข้อมูลการตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารระดับ นานาชาติได้ 5.เป็นฐานข้อมูลที่นักวิจัยให้ความยอมรับมากที่สุด
ข้อเสีย ISI Web of Science
จบการนำเสนอ ขอบคุณและสวัสดีค่ะ จบการนำเสนอ ขอบคุณและสวัสดีค่ะ