งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเพิ่มเติมผลงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ ในเว็บไซต์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเพิ่มเติมผลงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ ในเว็บไซต์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเพิ่มเติมผลงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ ในเว็บไซต์
เฉิดฉันทร์ ราชบุรณะ

2 ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
บทความในจดหมายข่าว บทความในหนังสือวิชาการ บทความจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการไทย บทความจากการประชุมวิชาการระดับชาติ บทคัดย่อจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

3 ผลงานวิจัยมาจากไหน ได้ข้อมูลจากคณาจารย์ ภาควิชา และหน่วยงาน โดยมาในรูปของบันทึกข้อความจากหน่วยงาน หรือ ไฟล์จาก หรือ บทความที่เป็นกระดาษ สืบค้นจากฐานข้อมูล (ISI Web of Science, SCOPUS, SciFinder)

4 ผลงานวิจัยจากภาควิชา
ตรวจสอบผลงานวิจัยที่ได้รับมากับ ผลงานวิจัยที่อยู่ในเว็บไซต์ ว่ามีอยู่แล้วหรือไม่ หากมี รายละเอียดตรงกันหรือไม่ หากไม่มี เพิ่มเติมในเว็บไซต์

5 ผลงานวิจัยจากภาควิชา (ต่อ)
การเพิ่มเติมในเว็บไซต์ ทำได้หลายวิธี  ดูจากเว็บไซต์ของวารสาร โดยเข้าไปที่รายชื่อวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Journal) เลือกวารสารที่ต้องการ ค้นหาบทความจาก ปีที่ (v.) ฉบับที่ (issue) และเลขหน้า ผู้แต่ง คัดลอกนำมาเพิ่มเติมในเว็บไซต์ โดยเรียงลำดับตามตัวอักษร

6 หน้าแรกของวารสาร

7 เลือกฉบับที่ต้องการ

8 เลือกบทความ

9

10

11 ผลงานวิจัยจากภาควิชา (ต่อ)
 สืบค้นจากฐานข้อมูลบรรณานุกรม เช่น - PubMed ISI Web of Science โดยการพิมพ์ชื่อผู้แต่ง และเลือกดูบทความที่ตรงกัน จากนั้นคัดลอก นำมาเพิ่มเติมในเว็บไซต์

12

13

14 ผลงานวิจัยจากภาควิชา (ต่อ)
จัดเก็บบทความวิจัยที่ภาควิชาส่งมาให้ โดยแบ่งแยกตามปี และจัดเก็บบันทึกข้อความสำหรับตรวจสอบในภายหลัง 2007 A

15 ผลงานวิจัยจากการสืบค้น
สืบค้นจากฐานข้อมูลหลักประมาณ 3 ฐาน ข้อมูล คือ ISI Web of Science SCOPUS SciFinder

16 ISI Web of Science

17 ISI Web of Science AD=(fac sci SAME mahidol univ) AND PY=2007

18

19 ISI Web of Science เมื่อได้ผลการสืบค้นแล้ว เปรียบเทียบกับผลงานวิจัยที่มีในเว็บไซต์ แล้วทำการเพิ่มเติม ผลงานวิจัยที่มีการเพิ่มเติม ให้ทำการพิมพ์ข้อมูล พร้อมเก็บเอกสารเป็นกระดาษ สำหรับตรวจสอบในภายหลัง หากมีเอกสารฉบับเต็มให้พิมพ์เก็บไว้เป็นต้นฉบับ หากไม่มี ให้พิมพ์หน้าบทคัดย่อ

20 SCOPUS

21 SCOPUS

22

23

24 SCOPUS เมื่อได้ผลการสืบค้นแล้ว เปรียบเทียบกับผลงานวิจัยที่มีในเว็บไซต์ แล้วทำการเพิ่มเติม ผลงานวิจัยที่มีการเพิ่มเติม ให้ทำการพิมพ์ข้อมูล พร้อมเก็บเอกสารเป็นกระดาษ สำหรับตรวจสอบในภายหลัง หากมีเอกสารฉบับเต็มให้พิมพ์เก็บไว้เป็นต้นฉบับ หากไม่มี ให้พิมพ์หน้าบทคัดย่อ

25 SciFinder

26

27 SciFinder เมื่อได้ผลการสืบค้นแล้ว เปรียบเทียบกับผลงานวิจัยที่มีในเว็บไซต์ แล้วทำการเพิ่มเติม

28 เพิ่มเติมผลงานวิจัย

29 รูปแบบการพิมพ์รายการ
Author. Title. Alternate Journal Date Year;Volume(Issue):Pages. Department : Author’s Status : Journal Name : Indexed in :

30 ชื่อผู้แต่ง นามสกุล ตามด้วยชื่อย่อ เช่น Sobhon P
ชื่อผู้แต่งมีกี่คน ใส่ให้หมดทุกชื่อ หากเป็นนักศึกษา อาจารย์ บุคลากรสายสนับสนุน ของคณะวิทยาศาสตร์ ให้ทำตัวหนา และเพิ่ม link จากรายชื่อคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ใส่ * ให้กับผู้แต่งหลัก (corresponding author) Author’s Status ให้ระบุว่าเป็น Academic Staff, Ph.D. Student, M.Sc. Student, Research Staff, Supporting Staff

31 คณาจารย์

32

33 นักศึกษา

34

35 รายการบรรณานุกรม ให้ทำ link ไปยังบทความนั้น โดย link ไปที่สำนักพิมพ์โดยตรง โดยใช้ DOI (Digital Object Identifiers) เช่น หากไม่มี DOI ให้ลิงค์ไปยังหน้าบทคัดย่อของบทความ ในเว็บไซต์สำนักพิมพ์ หากบทความนั้นไม่มีเว็บไซต์ของสำนักพิมพ์ ให้ลิงค์ไปยังหน้าบทคัดย่อของฐานข้อมูลบรรณานุกรม

36 ค่า Impact Factor ตรวจสอบจากเว็บไซต์ สามารถตรวจสอบ โดยเลือกชื่อวารสารตามลำดับตัวอักษร ดูชื่อย่อ ชื่อเต็มของวารสาร

37

38 Indexed In หากบทความที่เราสืบค้นมาได้จากฐานไหน ให้ถือว่าอยู่ในฐานข้อมูลนั้น หากวารสารนั้นมีค่า Impact Factor จะอนุมานว่าอยู่ในฐานข้อมูล ISI โดยอัตโนมัติ

39

40


ดาวน์โหลด ppt การเพิ่มเติมผลงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ ในเว็บไซต์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google