ความครอบคลุมการมีหลักประกันสุขภาพ (National Coverage) ณ เดือน พฤษภาคม 2552

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความครอบคลุมการมีหลักประกันสุขภาพ (National Coverage) ณ เดือนมกราคม 2552
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
National Coverage เมย.57 รายจังหวัด
งบประมาณ ปี 2551 ขอไป 2,139 บ / ปชก ได้มา 2,100 บ / ปชก สปสช. สำนักงบประมาณ 97,600 ล้านบาท หักเงินเดือน 25,400 ล้านบาท 72,200 ล้านบาท.
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
สถานการณ์การเงินการคลัง
นโยบายการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อขับเคลื่อนการคลังภาคสุขภาพ
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
รายงานแผนการปฏิบัติงาน สำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ลำปาง.
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
การบริหารสภาพคล่อง ด้าน การเงินการคลัง รพ. แก่งกระจาน ปีงบประมาณ 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
เปิดเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2536 เลขที่ 6 หมู่ 5 ต.วังจันทร์
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
สรุปกรอบบริหารงบเหมาจ่ายราย หัวปี ประเภทบริการปีงบ 2551ปีงบ บริการผู้ป่วยนอก (OP) บริการผู้ป่วยใน (IP)*
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
โรงพยาบาลแก่งกระจาน วันที่ 30 มิถุนายน 2551
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
เป้าหมายสำคัญของแผนยุทธศาสตร์ ปี 56 แผนงาน เป้าหมาย
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
สรุปการประชุม เขต 10.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
การดำเนินงาน โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ 2553.
ชี้แจงรายงาน ปีงบประมาณ 2555
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
National Coverage มิย.57 รายจังหวัด หมายเหตุ ข้อมูล สปสช. KPIจ.อุบลฯ 99.95% % อจ ยส มด ศก Mean 99.85% Median % อบ.
LOGO รายงานสรุปผลการ ปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2552 สำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ์ลำพูน ข้าราชการ รวม ลูกจ้างประจำ พนง. ราชการ จ้างเหมาบริการ 7 อัตรากำลัง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
เป้าหมาย ตัวชี้วัด กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2558
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
National Coverage พย.57 รายจังหวัด หมายเหตุ ข้อมูล สปสช. KPIจ.อุบลฯ 99.95% % อจ ยส มด ศก Mean 99.82% Median % อบ.
ได้รับจัดสรรวงเงิน 3,218,091. เกณฑ์การจัดสรรสัดส่วน (%) วงเงิน ( 3,218,091 ) 1. ประชากร30 965, ผลงาน70 2,252,664 แนวทางการจัดสรร งบ P4P จ.กระบี่
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ปีงบประมาณ 2558 ครั้งที่ 2 การประชุม CFO จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการดำเนินงาน โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ 2552

ความครอบคลุมการมีหลักประกันสุขภาพ (National Coverage) ณ เดือน พฤษภาคม 2552 99.35% หมายเหตุ จน.ประชากรที่อาศัยอยู่จริงในจังหวัด 1,074,220 คน มีหลักประกันสุขภาพ 1,067,208 คน ( 99.35 %)

แนวโน้มจำนวนความครอบคลุม ผู้ลงทะเบียนสิทธิบัตรทอง (ตค.51 - พค.52) (99.23%) (99.17%) (99.44%) (99.03%) (98.53%) (98.00%) (98.76%) (98.04%)

แนวโน้มจำนวนค่าว่างคงเหลือ (ตค.51 – พค.52) (1.57%) (1.54%) (1.15%) (0.97%) (0.76%) (0.65%) (0.61%) (0.44%)

แนวโน้มจำนวนบุคคลรอพิสูจน์ (ตค.51 – พค.52)

ปัญหา/ข้อจำกัดในการลงทะเบียนสิทธิ Survey ประกันสังคม Manage. ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ ส่งผลให้มีการเลิกจ้างงาน ทำให้ประชาชนหมดสิทธิประกันสังคมหรืออาจเป็นผู้ไม่มีสิทธิใดๆ(สิทธิว่าง) ทำให้ค่าว่างมีแนวโน้มที่สูงขึ้น จากการดำเนินการที่ผ่านมาพบปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงานโครงการหลาย ๆ ส่วนด้วยกัน คือ Survey หรือ การสำรวจข้อมูล บางครั้งมีข้อมูลที่ไม่สามารถนำมาลงทะเบียนได้ค้างอยู่ในระบบค่าว่าง และมีการนำมาสำรวจใหม่เรื่อย ๆ ทำให้เจ้าหน้าที่ระดับพื้นที่บางส่วนไม่เข้าใจ ว่าเป็นการสำรวจซ้ำซ้อน และไม่ดำเนินการสำรวจอีก และจำหน่ายข้อมูลนั้นไปไว้ที่รอพิสูจน์สถานะ เพื่อจะไม่ต้องนำข้อมูลกลับมาสำรวจใหม่ ข้อมูลประกันสังคม มีปัญหาค่อนข้างเยอะในเขตพื้นที่ที่มีโรงงานเยอะ ๆ เช่น แก้งคร้อ ภูเขียว คอนสวรรค์ ทำให้ค่าว่างมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และผู้ปฏิบัติงานในระดับพื้นที่ ติดตามปรับปรุงข้อมูลไม่ทันทำให้ และเหนื่อยล้าในการติดตามข้อมูลดังกล่าว Management หรือ ระบบบริหารจัดการข้อมูล จากระบบงานลงทะเบียนที่ต้องคอยติดตามข้อมูล และบริการรับคำร้อง ลงทะเบียนสิทธิ สำรวจข้อมูล อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบ ทำให้ระบบไม่สามารถดำเนินการต่อไปได้ทันท่วงที ต้องอาศัยระยะเวลาอีกสักระยะเพื่อปรับตัว หน่วยลงทะเบียน มีการเปลี่ยนแปลงเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานลงทะเบียนใหม่ ยังมีบางส่วนต้องศึกษาและทำความเข้าใจ จังหวัดร่วมกับ สปสช. (นม.) จัดประชุมชี้แจงแก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในระดับอำเภอ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจการลงทะเบียน และเน้นที่การลงทะเบียนอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะช่วยป้องกันปัญหาการร้องเรียนจากประชาชน ในกรณีพลการสิทธิ การแก้ไขปัญหา

การบริหารงบประมาณ กองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จังหวัดชัยภูมิ ปี 2552

แนวทางการจัดสรรงบเหมาจ่ายรายหัว จ.ชัยภูมิ ปี 2552 (อัตรา : ประชากร = 2,202) ยอดจัดสรรทั้งปี 2552 หลังหักเงินเดือน 836,302,694 บาท (1,000 บาท/บัตร) รวมงบ OP/PP Exp./IP/FF1-2 จัดสรรให้ CUPก่อน FF1-2 = 44,836,175 บาท IPนอกเขต = 12,904,816 บาท คงเหลือ 778,561,703 บาท หัก FF 5% ไว้จังหวัด= 38,928,085 บาท คงเหลือ 739,633,618 บาท OP = 322,055,643 บาท IPในเขต = 348,865,711 บาท PP Exp. = 68,712,264 บาท หมายเหตุ 1. งบ FF1-2 และ งบ IP นอกเขต ไม่หักเงินเดือนและเงินกันระดับจังหวัด 2. ยอดจัดสรรนี้ไม่รวมงบ PP Area Base และ PP Community Base

แผน/ผลการจัดสรรงบเหมาจ่ายรายหัว(ล่วงหน้า) จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ 2552 แผนการจัดสรร (100%) ผลการจัดสรร งวด 1-3 สสจ. 38.9 ล้านบาท 26.8 ล้านบาท 75% รพ. 797.4 ล้านบาท 530.6 ล้านบาท รวม 836.3 ล้านบาท 557.4 ล้านบาท หมายเหตุ 1) ผลจัดสรรงวด 1-3 = 664.84 บาท : ประชากร 2) ผลการจัดสรร สสจ.= 29.2 ล้านบาท ถูกหักค่าวัคซีนโรคพิษสุนัขบ้า จำนวน 2.4 ล้านบาท คงเหลือได้รับจริง 26.8 ล้านบาท 3) ผลการจัดสรร รพ.= 598.0 ล้านบาท ถูกหักตามผลงานการให้บริการ ปี 2551 จำนวน 67.4 ล้านบาท คงเหลือได้รับจริง 530.6 ล้านบาท หน่วย : ล้านบาท

งบส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค จ.ชัยภูมิ ปีงบประมาณ 2552 PP. Com (35,440,762.50) PP. Area Base Express Demand (68,712,263.89) PPA. เขต PPA. จังหวัด(20,508,387) นอกพื้นที่กองทุนตำบล(12 แห่ง) (2,568,150) พื้นที่สมัครร่วม กองทุนตำบล (130 แห่ง) (32,872,612.50 ) จังหวัด 5 โครงการ (4,868,387 บาท) อำเภอ 31 โครงการ (15,640,000บาท) Composite Indicators (4,653,204.50) Node/Policy (520,000) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สนับสนุนหน่วยงานบริหาร (สสจ./สสอ.=2บาท/ปชก.) (1,890,174 บาท) TSH / PKU Sealant Pap Smear Thalasemia จิตอาสา กองทุนตำบล NON_UC UC ควบคุมกำกับ/ติดตาม/ประเมินผลการดำเนินงาน PP งบคัดกรองฯ (829,300) งบปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (2,874,368) งบปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (900,000)

สถานการณ์การเงินการคลังสาธารณสุข ภาพรวมจังหวัดชัยภูมิ สถานการณ์การเงินการคลังสาธารณสุข ภาพรวมจังหวัดชัยภูมิ สถานการณ์การเงินการคลังฯ ภาพรวมจังหวัดชัยภูมิ อยู่ในเกณฑ์ปกติ Current Ratio = 2.29 (เกณฑ์ ≥ 1.5 เท่า) Quick Ratio = 2.06 (เกณฑ์ ≥ 1.0 เท่า) Cash Ratio = 1.49 (เกณฑ์ ≥ 0.8 เท่า) ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บลูกหนี้ค่ารักษา NON UC = 106.36 วัน (เกณฑ์ ≤ 90 วัน) ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการชำระเจ้าหนี้การค้า = 66.08 วัน (เกณฑ์ ≤ 90 วัน) อัตรากำไรสุทธิ = 2.05 (เกณฑ์ ≥ 0.0 %) ต้นทุนดำเนินการต่อหน่วย IPD = 12,515.08 บาท แหล่งข้อมูล : http://hfo.cfo.in.th/ (ข้อมูล ณ เดือนเมษายน 2552)

CR ≥1.5 QR ≥1 Cash≥0.7

กองทุน หลักประกันสุขภาพท้องถิ่น (Node กองทุนตำบล)

เป้าหมายดำเนินการกองทุนตำบล ในเขต 14 จังหวัด ท้องถิ่นทั้งหมด กองทุนฯ ปี 51 ปี 52 รวม ร้อยละ ชัยภูมิ 142 96 34 130 91.55 สุรินทร์ 172 51 20 71 41.28 บุรีรัมย์ 208 49 19 68 32.69 นครราชสีมา 333 61 13 74 22.22 รวมทั้งเขต 855 256 86 342 40.00

ผลการดำเนินงานกองทุน ฯ แต่งตั้งคณะทำงานระดับเขต /จังหวัด /อำเภอ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ และสร้างความรู้ ความเข้าใจผู้เกี่ยวข้อง (โดยเฉพาะใน อปท.ที่ยังไม่สมัคร) พัฒนาศักยภาพ - ประชุม คทง. ระดับเขต/จังหวัด /อำเภอ - อบรมคณะกรรมการบริหารกองทุน ฯ (ใหม่/เก่าทุกแห่ง) - ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้รับผิดชอบระบบรายงาน /บัญชีและการเงิน (ใหม่/เก่าทุกแห่ง) การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำเสนอผลงาน - จังหวัด 28 กค. 2552 - เขต 25 – 26 กค.52 - ประเทศ 14 – 15 พค.52 ติดตามประเมินผล/ถอดบทเรียน - ให้อำเภอติดตาม100 % (อยู่ระหว่างดำเนินการ) - จังหวัดติดตามให้คำแนะนำกองทุนที่เป็นปัญหา

ผลงานเด่น * กองทุน ฯ อบต.บ้านยาง ได้รับรางวัล นวัตกรรมดีเด่นระดับประเทศ เขต 9 ในการนำเสนอผลงาน เมื่อวันที่ 14 พค.51 ที่เมืองทองธานี เรื่อง “การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ต.บ้านยาง อ.เกษตรสมบูรณ์ จ.ชัยภูมิ”

ปัญหาและข้อจำกัด สปสช.โอนเงินให้ช้ามาก ขณะนี้กองทุนใหม่ (34 กองทุน)ยังไม่ได้รับเงินโอน ข้อจำกัดของ อบต. ในระบบอินเตอร์เน็ทของ อบต.บางแห่ง ไม่สามารถบันทึก รายงานผ่าน web.ได้ การเปลี่ยนผู้รับผิดชอบทำรายงานใหม่ ปัญหาที่พบจากการติดตามของจังหวัด(10แห่ง) การจัดทำแผนงาน/โครงการช้ามาก ยังไม่ประชุมคณะกรรมการ ฯ เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ * จังหวัดได้ให้คำแนะนำและดำเนินการแก้ไขแล้ว

ผลงานด้านการรักษาพยาบาล เปรียบเทียบ ปี 2550-2552(ตค.51-พค.52) ผลงานด้านการรักษาพยาบาล เปรียบเทียบ ปี 2550-2552(ตค.51-พค.52)

ผลงานด้านการใช้บริการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยนอก ปี 2550-2552 งบประมาณ สอ. รพช. รพท. รวม จำนวน ร้อยละ 2550 1,209,499 42.82 1,260,054 44.61 355,327 12.58 2,824,880 2551 1,428,438 44.64 1,395,320 43.61 376,075 11.75 3,199,833 2552 (ตค.51– พค.52) 910,752 42.80 964,009 45.30 253,162 11.90 2,127,923

ผลงานด้านการใช้บริการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยใน ปี 2550-2552 ผลงานด้านการใช้บริการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยใน ปี 2550-2552 ปี งบประมาณ รพช. รพท. รวม จำนวน ร้อยละ 2550 67,669 64.52 37,212 35.48 104,881 2551 69,713 63.50 40,070 36.50 109,783 2552 (ตค.51– พค.52) 45,399 61.88 27,969 38.12 73,368

หน่วย : เรื่อง