การศึกษาความเสี่ยงของการเกิดโรคไข้หวัดนกในพื้นที่กันชนรอบระบบฟาร์ม compartment อภิสิทธิ์ ปราการกมานันท์ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบาดวิทยาเพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
Advertisements

คำขอขึ้นทะเบียน ตามแบบกปม/ทบ2 (ผู้ประกอบการประเภทอื่นๆ)
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รูปแบบการวิจัย Research Design
ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
โครงการพัฒนาระบบข้อมูลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์
ลำดับที่ แผนงาน/โครงการ พื้นที่เป้าหมาย (อำเภอ) เป้าหมาย (หน่วยนับ)
โปรแกรมระบบฐานข้อมูลเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ปี 2557 ระบบหลัก ระบบสำรอง
สรุป ศูนย์สารสนเทศ แผนงาน/โครงการ
ผลการปฏิบัติงานด้านสุขภาพสัตว์
ตัววัดความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆทางระบาดวิทยา
กระบวนการจัดการความรู้
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
การซักซ้อมแผนสื่อสารความเสี่ยงเพื่อตอบโต้ภาวะ
การเขียนรายงานการวิจัย
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช
นางสาวสมจิตร บุญชัยยะ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๙ จังหวัดพิษณุโลก
การเฝ้าระวังผู้ป่วยกลุ่มอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ (ILI) ที่เข้ารับการรักษาในสถาบันบำราศนราดูร A Hospital-Based Surveillance of ILI Case-Patients In Bamrasnaradura.
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูงทางการศึกษา
ประชุม WARROOM จังหวัดนครปฐม 10 สิงหาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แหล่งที่มา : ณ 30 มค 50.
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
จุฑาทิพย์ ชมภูนุช สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
สุริชาติ สมวัฒนศักดิ์ นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ยอดธงไชย รอดแก้ว
ครั้งที่ 1 วันที่ กุมภาพันธ์ 2556
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร
กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนาระบบการผลิตไก่พื้นเมืองฯ เพื่อสร้างโอกาส
ชื่อนักวิจัย / ผู้ดำเนินงาน งบประมาณได้รับสนับสนุน บาท เบิกจ่ายแล้ว บาท ชื่อโครงการ สังกัดพื้นที่ คณะ สาขา รายงาความก้าวหน้าโครงการวิจัยและบริการ.
 จากข้อมูลผลการตรวจ NSP ในโคเนื้อของจังหวัดใน พื้นที่สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 ทั้ง 9 จังหวัด พบผล NSP+ จำนวน 97 ตัวอย่าง คิดเป็น 28.86% ซึ่งแสดงถึง สัตว์ที่เก็บตัวอย่างส่งตรวจ.
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
คำอธิบายรายวิชา.
ผลการจัดกิจกรรม สื่อมวลชนสัญจร ครั้งที่ 2 / 2550 พื้นที่รับผิดชอบของ สทภ.1 ( ณ จังหวัดเชียงใหม่, จังหวัดลำพูน ) วันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ 2550 ระเบียบวาระที่
เทคนิคการพัฒนาวิจัยเชิงพื้นที่
นโยบาย ให้ความสำคัญกับเรื่องการเพิ่มมูลค่าผลผลิต ทั้ง แปรรูปเป็นอาหาร และเป็นผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการส่งเสริมการบริโภค และขยายการตลาด เน้นการขับเคลื่อนกิจกรรมที่
ส่วนสุขภาพสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 สรุปผลการปฏิบัติงานรอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ 2557.
ส่วนสุขภาพสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์เขต 6 สรุปผลการปฏิบัติงานรอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ 2557.
ประชุมสัมมนา เจ้าหน้าที่ส่งเสริมปศุสัตว์สู่ Smart Officer
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่ เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัด สิงห์บุรี
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
การวิจัยในงานประจำ.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ประมวลภาพ กิจกรรม ประมวลภาพ กิจกรรม สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด กาญจนบุรี ต. ท่าล้อ อ. ท่าม่วง จ. กาญจนบุรี ประจำเดือน มิถุนายน 2557 ฉบับที่ 13/2557 ประจำเดือน.
1. การวิจัยคืออะไร 2. การวิจัยแบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
หลักการใหม่ตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560
การใช้ประโยชน์ข้อมูลสภาพ และปัญหาด้านทรัพยากรน้ำในลุ่มน้ำ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาความเสี่ยงของการเกิดโรคไข้หวัดนกในพื้นที่กันชนรอบระบบฟาร์ม compartment อภิสิทธิ์ ปราการกมานันท์ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)

Africa and South east Asia

focal persons DLD: K. Chanachai, K. Kongsathapornchai RVC: R. Metras, C. Marce, A. Prakarnkamanant, and D. Pfeiffer KU: S. Kasemsuwan, C. Poolkhet, T. Patanasatienkul, N. Buameetoop, M. Watanakul www.hpai-research.net.

ขั้นตอน กำหนดหัวข้อการศึกษา ระยะที่ 1 (เชิงคุณภาพ) กำหนดทีมที่จะทำการศึกษา สร้าง Risk pathway เก็บข้อมูล – กรมปศุสัตว์ เกษตรกร นักวิจัย สรุปผล กำหนดหัวข้อศึกษาในระยะที่ 2 (เชิงปริมาณ)

Risk question (ระยะที่ 1) ความเสี่ยงของการเกิดโรคไข้หวัดนกในสัตว์ปีกที่เลี้ยงในพื้นที่ buffer zone รอบฟาร์มในระบบ compartment The risk of Introduction and Transmission of H5N1 HPAI infection into 1-km buffer zone around a compartmentalized farm

Buffer zone Compartment farm

Release Pathway

Expose Pathway

วิธีการศึกษา (1) วิธีการเก็บข้อมูล: โดยการระดมสมอง สัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ เช่น เจ้าหน้าที่กรมฯ นักวิชาการ บริษัท เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่ buffer zone พื้นที่ทำการศึกษา: พื้นที่ (อำเภอ และจังหวัด) ที่มีฟาร์มในระบบ Compartment (ฟาร์มบริษัท และฟาร์ม contract) มาก คือ จังหวัด นครปฐม สระบุรี ลพบุรี ฉะเชิงเทรา และเพชรบูรณ์

วิธีการศึกษา (2) ระยะเวลาที่ศึกษา: กุมภาพันธ์ 08-กรกฎาคม 08 ระยะเวลาที่เก็บข้อมูล: พฤษภาคม 08-สิงหาคม 08 ตัวอย่างตัวแปรที่เก็บข้อมูล Release: ความชุกของโรคในสัตว์ปีกหรือcarrier, ความถี่ที่นำเข้าสัตว์ปีกหรือ carrier นั้น มาใน Buffer zone Expose: ระยะการมีชีวิตรอดของสัตว์เมื่อติดโรค, โอกาสของการสัมผัสระหว่างสัตว์ปีกหรือ carrier กับสัตว์ปีกใน buffer zone

Release scale Risk Frequency Prevalence (%) Negligible 1 times per year <=0.001 Very low 2 time per year 0.01 Low 3 times per year 0.1 Medium 1 time per month 1 High 1 time per week 10 Very high Every day >10

Exposure scale Risk Chance of infection to poultry in the buffer zone when AI virus was introduced into buffer zone Negligible <1% Very low 5% Low 25% Medium 50% High 75% Very high 100%

Not known There is no data available, no reference, no personal communication and no experience.

Combination matrix for risk estimation Exposure Release Very High High Medium Low Very Low Negligible medium Very low

Compartmentalization farms

ผลการศึกษา: รวม ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความไม่แน่นอน นกธรรมชาติ ต่ำมาก ปานกลาง สัตว์ปีกมีชีวิต สูงมาก สูง เป็ดไล่ทุ่ง Negligible หนู แมลง - สุนัข แมว น้ำ ต่ำ อุปกรณ์ อาหารสัตว์ ปุ๋ย ผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก คน ยานพาหนะ

ผลการศึกษา: นกธรรมชาติ ประมาณ 70% ของพื้นที่ใน buffer zone เป็นพื้นที่สูงโอกาสในการพบนกอพยพน้อย พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เพาะปลูกดังนั้นจะพบนกบ้านอาศัยอยู่มาก นกธรรมชาติที่อาศัยอยู่ตามบ้านหลายชนิดมีความสามารถในการนำโรคไข้หวัดนกได้ เช่น นกกระจอก นกพิราบ? นกยาง นกเอี้ยง นกเป็ดน้ำ จากการเฝ้าระวังโรคในนกธรรมชาติโดย ม.มหิดล และ กระทรวงทรัพยากรฯ ไม่พบว่ามีนกธรรมชาติในประเทศไทยให้ผลบวกต่อโรคไข้หวัดนก การสอบสวนโรคของเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ นกธรรมชาติเป็นชนิดสัตว์ที่ถูกสงสัยว่าจะเป็นตัวนำโรคในการระบาดหลายครั้ง ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความเสี่ยง รวม ความไม่แน่นอน นกธรรมชาติ ต่ำมาก ปานกลาง

ผลการศึกษา: สัตว์ปีกมีชีวิต 70-80% ของสัตว์ปีกพื้นบ้านใน buffer zone เลี้ยงแบบ free-ranging 50-60% ของเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์ปีกพื้นบ้านนำเข้าสัตว์ปีกโดยไม่ได้คำนึงถึงแหล่งที่มา มีการนำสัตว์ปีกพื้นบ้านเข้ามาใหม่ในพื้นที่น้อย ในบางพื้นที่บริษัทจะซื้อไก่พื้นเมืองที่อยู่ใน buffer zone เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดโรคในพื้นที่ ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความเสี่ยง รวม ความไม่แน่นอน สัตว์ปีกมีชีวิต ต่ำมาก สูงมาก สูง

ผลการศึกษา: เป็ดไล่ทุ่ง ในพื้นที่ buffer zone มีจำนวนเป็ดไล่ทุ่งน้อย และเป็ดไล่ทุ่งที่เข้ามาเลี้ยงจำนวนน้อย ในการใช้กฎระเบียบในระดับชุมชนมาใช้ในการห้ามการเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง พื้นที่หากินของเป็ดไล่ทุ่งมักจะห่างไกลจากพื้นที่หมู่บ้านทำให้โอกาสของการสัมผัสกับสัตว์ปีกพื้นบ้านมีน้อย (ยกเว้นเป็ดไล่ทุ่งที่เลี้ยงแบบเช้าไปเย็นกลับ?) ในบางพื้นที่มีโรงฆ่าเป็ดอยู่ในพื้นที่ buffer zone ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความเสี่ยง รวม ความไม่แน่นอน เป็ดไล่ทุ่ง ต่ำมาก Negligible ปานกลาง

ผลการศึกษา: หนู แมลง มีการตรวจพบ หนูที่ติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกในช่วงที่มีการระบาดระยะแรก ๆ (2004) ระยะทางหากินของหนูสามารถไปไกลได้ 2-3 ก.ม. แต่โดยส่วนมากจะหากินที่ใกล้ ๆ อาจพบหนูถ่ายใส่อาหารไก่ มีรายงานการตรวจพบเชื้อไวรัสในยุงในปี 2004 (Mechanical transmission?) ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความเสี่ยง รวม ความไม่แน่นอน หนู แมลง Negligible - ปานกลาง

ผลการศึกษา: สุนัข แมว มีการรายงานการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนกในสุนัข และแมวในประเทศไทย การศึกษาระดับ antibody ต่อ H5 ในสุนัขในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคไข้หวัดนกในสัตว์ปีกพบว่ามีสุนัขที่มีภูมิคุ้มกัน 25% (false positive?) อบรมชาวบ้านในการกำจัดซากสัตว์ปีก โอกาสสุนัขคาบซากน้อย ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความเสี่ยง รวม ความไม่แน่นอน สุนัข แมว Negligible - ปานกลาง

ผลการศึกษา: แม่น้ำ ลำคลอง ไวรัสสามารถอยู่ได้นานในแหล่งน้ำธรรมชาติ (4 วัน) พฤติกรรมการโยนไก่ทิ้งในปัจจุบันมีน้อยลงกว่าในอดีต ส่วนมากที่ดอน อาจพบน้ำหลาก และในอดีตมีสัตว์ปีกตายหลังน้ำหลาก ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความเสี่ยง รวม ความไม่แน่นอน น้ำ Negligible - ต่ำ

ผลการศึกษา: อุปกรณ์ (เช่น อุปกรณ์ชนไก่ เป็ดไล่ทุ่ง) ผลการศึกษา: อุปกรณ์ (เช่น อุปกรณ์ชนไก่ เป็ดไล่ทุ่ง) 7% ของครัวเรือนในพื้นที่ buffer zone เลี้ยงไก่ชน ซึ่งมีการซื้อ-ขายไก่อยู่ตลอด เกษตรกรไก่ชนโดยส่วนมากดูแลไก่ของตนเองเป็นอย่างดี ไม่นำไก่ไปชนหากทราบข่าวการเกิดโรค การติดเชื้อโดยมูลเป็ดไล่ทุ่งที่อยู่ตามพื้นกรงขนย้าย และเสียม มีโอกาสเป็นไปได้ ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความเสี่ยง รวม ความไม่แน่นอน อุปกรณ์ Negligible - ปานกลาง

ปุ๋ย มีการขนย้ายปุ๋ยขี้ไก่เข้ามาในพื้นที่ buffer zone บางแห่งจำนวนมาก ส่วนมากมีการตากแดดไว้ก่อนการนำมาใช้ซึ่งจะทำให้ไวรัสตายก่อนที่จะติดเชื้อไปไก่ ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความเสี่ยง รวม ความไม่แน่นอน ปุ๋ย ต่ำมาก Negligible ปานกลาง

เนื้อไก่ และผลิตภัณฑ์จากไก่ โดยส่วนมากเกษตรกรจะไม่ซื้อเนื้อไก่มาบริโภคแต่จะบริโภคไก่ของตนเอง การสำรวจในช่วงที่มีการระบาดของโรคสามารถพบเนื้อที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสไข้หวัดนกในท้องตลาด ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความเสี่ยง รวม ความไม่แน่นอน ผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก Negligible - สูง

คน เป็นตัวพาโรคที่สำคัญโดยเฉพาะในกลุ่มผู้เลี้ยงไก่ชน น่าจะเป็นคนที่ไปดูไก่มากกว่า น่าเก็บข้อมูลในบ่อน การให้ความรู้กับเกษตรกรในการป้องกันสัตว์ปีกของตนเองติดโรคมีความสำคัญอย่างมาก อาชีพเพาะปลูก อาสา ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความเสี่ยง รวม ความไม่แน่นอน คน ต่ำมาก ต่ำ Negligible สูง

ยานพาหนะ ยานพาหนะ ต่ำมาก - ต่ำมาก สูง รถขนมูลไก่ รถรับจ้างไถนา เคยพยายาม isolate เชื้อไวรัสจากรถ แต่ไม่พบ รถจักรยานยนต์อาจมีเชื้อได้ ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความเสี่ยง รวม ความไม่แน่นอน ยานพาหนะ ต่ำมาก - ต่ำมาก สูง

ผลการศึกษา: รวม ตัวกลาง ความเสี่ยง Release ความเสี่ยง Expose ความไม่แน่นอน นกธรรมชาติ ต่ำมาก ปานกลาง สัตว์ปีกมีชีวิต สูงมาก สูง เป็ดไล่ทุ่ง Negligible หนู แมลง - สุนัข แมว น้ำ ต่ำ อุปกรณ์ อาหารสัตว์ ปุ๋ย ผลิตภัณฑ์สัตว์ปีก คน ยานพาหนะ

สรุปผลการศึกษา จากการวิเคราะห์ความเสี่ยงเชิงปริมาณพบว่าการระบาดของโรคไข้หวัดนกในสัตว์ปีกในพื้นที่ buffer zone มีโอกาสเกิดจากนกธรรมชาติ และการนำสัตว์ปีกมีชีวิตเข้าในระดับต่ำมาก ส่วนการนำโรคโดยวิธีการอื่น ๆ นั้นมีโอกาสอยู่ในระดับ Negligible ปัจจัยที่เป็นตัวแปรที่สำคัญของโอกาสการเกิดโรค คือ สภาวะโรคบริเวณรอบ ๆ พื้นที่ buffer zone

ข้อเสนอแนะสำหรับการพัฒนาระบบ Compartment การป้องกันและควบคุมโรคใน Buffer zone มีความสำคัญต่อการเกิดโรคในฟาร์ม แต่มาตรการใน Buffer zone ไม่ได้แตกต่างจากพื้นที่ปกติทั่วไป ยกเว้น ระบบเฝ้าระวังโรคที่เข้มงวดมากขึ้น ดังนั้น ให้ความสำคัญกับการสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ buffer zone และรอบพื้นที่ Buffer zone โดยการสร้างความร่วมมือกับบริษัท หรือชุมชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรค การประชาสัมพันธ์ให้กับเกษตรกร หรือชุมชน ในพื้นที่ buffer zone ในด้านการเฝ้าระวังโรค การเคลื่อนย้ายสัตว์เข้า-ออกมีความสำคัญ

Risk questions “What is the risk of introducing HPAI H5N1 via fighting cock activity into the buffer zone around compartmentalized farms?” “What is the risk of introducing HPAI H5N1 resulting from introduction of backyard chickens into the buffer zone around compartmentalized farms?”

Definition ไก่ชน:ไก่เพศผู้ที่มีกิจกรรมเพื่อการชนไก่ ไก่ backyard: ไก่ที่เลี้ยงแบบปล่อยหากินทั่วไป

สื่อที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมชนไก่ คน / ยานพาหนะ ผู้เลี้ยง คนดู คนซ้อมไก่ มือน้ำ อุปกรณ์ที่ใช้ในการชนไก่ เตา กระเบื้อง พรม กล่องไก่ ไก่ชน / อาจสัมผัสนกตอนปล่อยหากิน (หากเป็นฟาร์มจะดูแลดีไม่สัมผัส)

Risk pathways In process Data collection Empirical studies Field study: June-August, 2009- questionnaires, laboratory Data analysis: August –September 2009 Presentation of results: stakeholders

Next steps Develop the model for further study: control measures Data collection: administer unit-ตำบล Data analysis

แหล่งที่มา (Prevalence) High risk Low risk Exudates, dropping นกบ้าน สิ่งแวดล้อม/อุปกรณ์/ยานพาหนะ ไก่ คน ตรวจพบว่าเป็นโรคหรือไม่ Clinical examination & Cloacal swab อาบน้ำก่อนออกจากบ้าน? อุปกรณ์ มีการล้อมรั้ว/ตาข่าย? No No ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ยานพาหนะ สนามไก่ชน ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? บ้าน/ฟาร์ม ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? อาบน้ำ/เปลี่ยนเสื้อผ้าก่อนเข้าบ้าน? ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? Quarantine? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ?

แหล่งที่มา (Prevalence) High risk Low risk Exudates, dropping นกบ้าน ไก่ คน สิ่งแวดล้อม/อุปกรณ์/ยานพาหนะ ตรวจพบว่าเป็นโรคหรือไม่ Clinical examination & Cloacal swab อาบน้ำก่อนออกจากบ้าน? อุปกรณ์ No ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? มีการใช้ร่วมกัน/ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อ? ทำความสะอาดตลาด? ยานพาหนะ ตลาดขายไก่ ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ได้รับเชื้อจากการสัมผัส ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อระหว่างการเดินทาง? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อระหว่างการเดินทาง? ผ่านน้ำยาฆ่าเชื้อระหว่างการเดินทาง? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์มอื่น? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? เส้นทาง- มีการแวะฟาร์ม/ซุ้ม/บ่อนอื่น? ยานพาหนะ ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ระยะทาง- เวลา โดนแสงแดด? ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? อาบน้ำ/เปลี่ยนเสื้อผ้าก่อนเข้าบ้าน? ทำความสะอาดก่อนเข้าบ้าน? บ้าน/ฟาร์ม Quarantine? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ? สัมผัสกับสัตว์ปีกในบ้าน ?

ขอบคุณครับ ถามตอบ?