แนวคิดการเพิ่มผลผลิต Productivity Concept

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพิ่มผลผลิตตนเอง Personal Productivity
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
รหัส หลักการตลาด.
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตลาด
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
ทรัพยากรมนุษย์และชุมชน (Perspectives of HCRD)
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
BA 925 การบริหารกลยุทธ์ ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2551
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
- แผนงานที่ไม่มีโครงการจะเป็นแผนงานที่ไม่มีความสมบูรณ์ ไม่สามารถนำไปปฏิบัติเป็นรูปธรรม
กลุ่ม 6 เรื่องการตลาด.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การบำรุงรักษาทรัพยากรมนุษย์
อุบัติเหตุและวิธีป้องกัน
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรมธุรกิจ
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ระบบการผลิต ( Production System )
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
Good Corporate Governance
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
โดย สมภพ อมาตยกุล 21 กันยายน 2548
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ
5 ส. 5 ส. คืออะไร ? 5 ส. เป็นกิจกรรมหนึ่งที่มุ่งเน้นในเรื่องการดูแลรักษาความสะอาด การจัดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสถานที่ทำงานหรือสถานประกอบการกิจกรรมหลักของ.
การเพิ่มผลผลิต Productivity
5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การติดตาม และการควบคุม (Monitoring and Control)
บทที่ 13 การบริการลูกค้าในการค้าปลีก
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ความหมายของการบริการ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
Evaluation of Thailand Master Plan
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
5 ส 5 ส คือ กระบวนการในการจัดสถานที่ทำงานให้เป็นระเบียบเรียบร้อย โดยมุ่งเน้นที่จะก่อให้เกิดประสิทธิภาพของการทำงาน และจิตสำนึกในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่ดีของผู้ปฏิบัติงาน.
บทบาทของข้อมูลการตลาด
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การวัดการวิจัยในการตลาด
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี
บทที่1 การบริหารการผลิต
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดการเพิ่มผลผลิต Productivity Concept หลักสูตรฝึกอบรม เรื่อง แนวคิดการเพิ่มผลผลิต Productivity Concept โดย ฝ่ายปรึกษาแนะนำด้านการเพิ่มผลผลิต สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

ความหมายของการเพิ่มผลผลิต 1. ความหมายทางเศรษฐกิจและสังคม ทัศนคติในการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องโดยมีแนวคิดว่า ทำวันนี้ให้ดีกว่าเมื่อวานและพรุ่งนี้ต้องดีกว่าวันนี้ 2. ความหมายทางวิทยาศาสตร์ การเพิ่มผลผลิต = ผลิตผล (Outputs) ปัจจัยการผลิต (Inputs)

ความหมายของการเพิ่มผลผลิต 1. ความหมายทางเศรษฐกิจและสังคม เหนือสิ่งอื่นใด การเพิ่มผลผลิต คือ..... ทัศนคติของจิตใจที่แสวงหาทางปรับปรุงสิ่งต่างๆ ให้ดีขึ้น ความเชื่อมั่นว่า “เราสามารถทำวันนี้ให้ดีกว่าเมื่อวานนี้ และพรุ่งนี้จะต้องดีกว่าวันนี้” ความพยายามอย่างไม่มีที่สิ้นสุดที่จะปรับสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจให้ดีขึ้น ความเชื่อในความก้าวหน้าและความสามารถของมนุษย์ องค์การเพิ่มผลผลิตยุโรป (EPA 1958)

ความหมายของการเพิ่มผลผลิต 2. ความหมายทางวิทยาศาสตร์ “ การเพิ่มผลผลิตคือการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรให้คุ้มค่า” = ผลิตผล (Output) ปัจจัยการผลิต (Input)

ลักษณะการเพิ่มผลผลิต ผลิตผล ปัจจัย

สภาพภายในโรงงาน คอยวัตถุดิบในการทำงาน การสะสมพัสดุ ของเสีย ค้นหาเครื่องมือ งานซ้ำซาก เครื่องจักรเสีย ชิ้นส่วนต่าง ๆ ไม่พอ

สภาพภายในโรงงาน การเก็บรักษาวัสดุชั่วคราว แบกวัสดุ น้ำหนักมาก นับจำนวนชิ้นส่วน ใส่ข้อมูลที่นับได้ในคอมพิวเตอร์ เคลื่อนย้ายวัสดุ เป็นระยะทางยาว ผลิตสินค้ามากเกินไป ขนย้ายซ้ำซ้อน

ความสูญเสีย 7 ประการ การผลิตของเสีย กระบวนการผลิตที่ขาดประสิทธิภาพ การแก้ไขงาน กระบวนการผลิตที่ขาดประสิทธิภาพ การผลิตมากเกินไป การ เคลื่อนไหว ที่ไม่จำเป็น การรอคอย การว่างงาน การขนส่ง การเก็บสต็อกมากเกินไป

ใครบ้างได้รับผลประโยชน์จากการเพิ่มผลผลิต ผลลัพธ์ของการเพิ่มผลผลิต ใครบ้างได้รับผลประโยชน์จากการเพิ่มผลผลิต ผู้บริโภค สินค้าบริการราคาถูกลง สินค้าบริการคุณภาพสูงขึ้น พนักงาน การแบ่งปันผลประโยชน์อย่างยุติธรรม สภาพแวดล้อมในการทำงานดีขึ้น คุณภาพชีวิตที่สูงขึ้น มีความมั่นคงในการทำงาน พัฒนาทักษะและความสามารถของตนเอง

ใครบ้างได้รับผลประโยชน์จากการเพิ่มผลผลิต ผลลัพธ์ของการเพิ่มผลผลิต ใครบ้างได้รับผลประโยชน์จากการเพิ่มผลผลิต เจ้าของกิจการ ขายสินค้า บริการได้มากขึ้น ต้นทุนการผลิตต่ำลง กำไรเพิ่มขึ้น ขยายการลงทุนทำให้มีรายได้มากขึ้น เพิ่มการจ้างงานให้สูงขึ้น ระดับชาติ จัดเก็บภาษีได้มากขึ้น พัฒนา ปรับปรุงสาธารณูปโภคต่าง ๆ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศดีขึ้น

การเพิ่มผลผลิตเป็นเรื่องของทุกคน ผู้บริหาร นโยบายชัดเจน (Clear Policy) มุ่งมั่น ตั้งใจ (Commitment) พนักงาน ทุ่มเท (Effort) มีส่วนร่วม (Participation)

การเพิ่มผลผลิตโดยรวมของชาติที่ได้คุณธรรมและยั่งยืน องค์ประกอบการเพิ่มผลผลิต การเพิ่มผลผลิตโดยรวมของชาติที่ได้คุณธรรมและยั่งยืน เพื่อพนักงาน เพื่อสังคม เพื่อลูกค้า Q C D S M E E ต้นทุน คุณภาพ การส่งมอบ สิ่งแวดล้อม จรรยาบรรณ ความปลอดภัย ขวัญและกำลังใจ

อะไรคือสิ่งสำคัญสำหรับคุณ ความเข้าใจผิดและการปฏิบัติไม่ถูกวิธี ความเข้าใจที่ถูกต้องและการปฏิบัติให้เกิดผล

ต้นไม้ของการเพิ่มผลผลิต TQM JIT TPM QC Suggestion Kaizen IE ISO9000 ISO 14000 HA Problem Solving สร้างนิสัย (Shisuke) A สะสาง (Seiri) P C D สุขลักษณะ (Seiketsu) สะดวก (Seiton) สะอาด (Seiso)