สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 1
ยุทธศาสตร์ การยกระดับคุณภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี การพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 2
การยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ S M &T การวิจัย พัฒนา หลักสูตร สื่อ กระบวนการเรียนการสอน การวัดประเมินผลให้ทันสมัยทัดเทียมนานาชาติ (มาตรฐาน หลักสูตร คู่มือครู หนังสือเรียน สื่อประกอบ สำหรับเด็กเก่ง (30%บน) การพัฒนาหลักสูตรอนาคต การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ดิจิทัลด้าน S M & T (IPST Learning Center) 3
การยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ S M &T การพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โรงเรียนในพระราชดำริและโรงเรียนในท้องถิ่นทุรกันดาร (ระดับปฐมวัย-บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย) การสร้างความตระหนักในการเรียนรู้ S M & T (วิทยสัประยุทธ์ การ์ตูนไซน์คิดส์ พิชิตปริศนา) พัฒนาศักยภาพครูเพื่อเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (หลักสูตร PCK และ HMH อบรมผู้บริหารและครู สนับสนุนทุนวิจัยในชั้นเรียน) 4
พัฒนาศักยภาพครูเพื่อเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง พัฒนาหลักสูตร PCK และ HMH อบรมผู้บริหารและครู การเป็นครูพี่เลี้ยงวิชาการ สนับสนุนทุนวิจัยในชั้นเรียน ประชุมวิชาการ 5
การพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษทาง S M & T อย่างเต็มศักยภาพ โครงการ โอลิมปิกวิชาการ โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพ โครงการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้มีความสามารถพิเศษด้าน S & M ช่วงชั้นที่ 2 3 และ4 โครงการส่งเสริมการผลิตครู S & M 6
การดำเนินงาน...นักเรียน นิสิต นักศึกษา การสนับสนุนทุนการศึกษา การสนับสนุนทุนวิจัยสำหรับบัณฑิตแรกบรรจุ การพัฒนาหลักสูตร (เน้นทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์) การจัดกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพด้าน S M &T (ค่ายวิทย์ ค่ายคณิต นำเสนอโครงงาน/ผลงานวิจัย ทำกิจกรรมวิชาการในต่างประเทศ) ศูนย์พัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา 20 ศูนย์ทั่วประเทศ 7
การดำเนินงาน...ครู * การทำหลักสูตร (โครงการ สควค.ระยะ3) * การทำหลักสูตร (โครงการ สควค.ระยะ3) - Premium (ออกแบบเฉพาะ เพื่อสร้างครู S M & T สำหรับนักเรียนที่มีศักยภาพสูง) - Super Premium (ใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการสอน เพื่อสร้างครู S M & T สำหรับนักเรียนที่มีศักยภาพในการใช้ภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน) * การสนับสนุนผู้ได้ทุน super Premium ฝึกประสบการณ์ต่างประเทศ 1 ปี * การสนับสนุนทุนวิจัย ประดิษฐ์ คิดค้นนวัตกรรม และสื่อการเรียนการสอน * เมื่อปฏิบัติหน้าที่สอนแล้ว มีการอบรม เพื่อพัฒนาศักยภาพตนเอง และ การขยายผลไปยังครูหรือโรงเรียนในเครือข่าย เป็นระยะๆ 8
โครงสร้างการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาและส่งเสริม ผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในอนาคต ระดับหลังสำเร็จ จัดหาให้ทำงานในหน่วยงานของรัฐ Excellent Center และ Excellent University (วท., สกอ., สวทช., ศธ., อก., สสว., ทส., กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, สธ., ส.อ.ท., ว.ส.ท., แพทยสภา, หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสถาบัน กรม กอง ต่างๆ ที่มีงานด้านการวิจัยและพัฒนา) ระดับอุดมศึกษา ม./มรภ. ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา อาชีวศึกษา/ม.เทคโนโลยี/ ม.ราชมงคล ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา ปริญญาโท-เอก ต่างประเทศ ปริญญาโท-เอก ในประเทศ โครงการนักเทคโนโลยี Honor Program (ทุน ก.พ., ทุน กว., ทุน สกอ.) โปรแกรมเฉพาะ (ทุน โอลิมปิก.,ทุน พสวท., ทุนเรียนดีวิทย์, ทุน TGIST) โปรแกรมเฉพาะทางเทคโนโลยี ควรได้รับทุนการศึกษา การศึกษานอกระบบ (อพวช., กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น, NGO) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษได้พัฒนาตนเองอย่างเต็มที่ อาชีวศึกษา (สอว.) โครงการ JSTP (สวทช.) โครงการ พสวท. (สสวท.) โครงการห้องเรียนพิเศษ สพฐ. สสวท./สกอ/กระทรวงวิทย์ โอลิมปิก สสวท/สอวน. รร. มหิดลวิทยานุสรณ์, รร.จุฬาภรณราชวิทยาลัย (สพฐ.) ระดับ ม.ต้น จัดกิจกรรมพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษ (สพฐ.,สกอ.สพท.,สสวท.,สวทช.,สอวน., สสอน. สมาคมวิทย์ ฯลฯ) ระดับประถมศึกษา จัดกิจกรรมพัฒนาและส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษ (สพฐ., สกอ. สพท., สสวท., สสอน. สมาคมวิทย์ สภากาชาด ฯลฯ) ระดับการศึกษาปฐมวัย ครอบครัวและชุมชน จัดกิจกรรมกระตุ้นเพื่อการพัฒนาความสามารถพิเศษ (สพฐ.,สกอ., สพท.,สสวท. สสอน. ,NGO,กรมอนามัย,สธ., สภากาชาดไทย ฯลฯ) 9
ขอบคุณค่ะ