ภาวะจำกัดความสามารถ และพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ นิภาพรรณ ทิพยจักร์ อุสา จารุสวัสดิ์ โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
นวัตกรรมน่ารู้ นางสาวสินีนาฎ อุ่นใจเพื่อน
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ. เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ชื่อโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
เตรียมพร้อมกายใจ เพื่อวัยเกษียณ.
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับมาตรการ การตรึงราคา/กำหนดระดับราคาน้ำมัน
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเขื่อนปากมูล
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
งานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สถานการณ์ปัญหาการฆ่าตัวตายประเทศไทย
การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ โครงการที่ได้รับ
ประชุมผู้บริหารกรม ทรัพยากรน้ำ ครั้งที่ 4/2550 วันศุกร์ที่ 27 เมษายน 2550 เวลา น.
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ มิถุนายน คะแนน ระดับดีมาก.
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
ผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้จัดทำ นางสาวภัทศิรา ภูมิเมือง เลขที่ 16 นางสาวสุพัชรญา มะโนรา เลขที่
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
RMCDOTNET โปรแกรมบริหารระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
1 คำสั่งในการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา 1.การวิเคราะห์เชิงพรรณนาในภาพรวม
ภาวะราคาปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดชุมพร จังหวัดกระบี่
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาวะจำกัดความสามารถ และพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วย ปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ นิภาพรรณ ทิพยจักร์ อุสา จารุสวัสดิ์ โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่

ความเป็นมา ผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว หมายถึง ผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว หมายถึง ผู้ที่มีอาการปวดหลังเนื่องจากพยาธิสภาพที่บริเวณกระดูกสันหลัง ตั้งแต่ระดับบั้นเอวถึงบริเวณกระเบนเหน็บ (L-1 ถึง S-1) ไม่ว่าปวดเฉียบพลันหรือปวดเรื้อรัง ภาวะจำกัดความสามารถ หมายถึง การที่บุคคลมีการปฏิบัติกิจกรรมในการดำเนินชีวิตประจำวันที่เป็นปกติได้ลดลง หรือปฏิบัติได้ไม่เต็มที่ พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การแสดงออกของบุคคลที่ตอบสนองต่อสิ่งที่มากระตุ้นด้านสุขภาพทั้งขณะที่มีสุขภาพดีและขณะเจ็บป่วย เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยรุนแรงมากขึ้น รวมทั้งการตัดสินใจไปใช้บริการเมื่อเจ็บป่วย www.themegallery.com

ความเป็นมา (ต่อ) ผลกระทบ : ปวดหลังส่วนเอว : ปวดหลังส่วนเอว เคลื่อนไหวช้าลง --------------------------- ข้อจำกัด (นั่ง นอน ยืน เดิน อาบน้ำ-แต่งตัว งานบ้าน ยกของ เดินทาง) ดูแลตนเอง --------------------- พฤติกรรมสุขภาพ ดี (ถูกต้อง) ไม่ดี (ไม่ถูกต้อง) หายปวด ปวดหลังซ้ำๆ เป็นๆ หายๆ (เรื้อรัง)---------70-80 % สุขภาพดี พิการ (Brown et al. 1998; CA Mustard, 2005) www.themegallery.com

ความเป็นมา (ต่อ) ปวดหลังส่วนเอว (Low Back Pain) ปัญหาสุขภาพที่สำคัญและพบบ่อยที่สุดของโรคระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ ทำให้การเคลื่อนไหวลดน้อยลง มีข้อจำกัดมากขึ้น 70-80% ปวดเรื้อรัง ถ้าไม่รักษาอาจพิการ (Brown et al. 1998; CA Mustard, 2005) 8 ใน 10 พบในวัยผู้ใหญ่ (Borenstein, 1995; CA Mustard, 2005) พบทุกอาชีพที่ทำงานในอิริยาบถซ้ำๆ ก้มๆ เงยๆ นั่ง/ยืนนานๆ เช่น เกษตรกรรม พนักงานขับรถ คนทำงานในสถานประกอบการ/โรงงาน งานให้บริการ (พยาบาล ทันตแพทย์)(AH Myer, 1999; สุสัณหา ยิ้มแย้ม, 2550 ฯลฯ) ความชุก : Europe ~ 18-30 % (Chopra et al., 2002) ไทย 42.1% , (จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ, 2539) www.themegallery.com

วัตถุประสงค์ 1 2 3 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ เพื่อศึกษาภาวะจำกัดความสามารถของ ผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ 1 เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถของผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ 2 เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของ ผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ 3 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ www.themegallery.com

วิธีการศึกษา 2 รูปแบบการศึกษา analytic cross-sectional study สถานที่ศึกษา 20 หมู่บ้าน 10 ตำบล 5 อำเภอ จ.เชียงใหม่ (จอมทอง เชียงดาว สันทราย สันป่าตอง และเมือง) 2 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ www.themegallery.com

การสุ่มพื้นที่ สุ่มอำเภอ --> 5 อำเภอๆ ละ 2 ตำบลๆ ละ 2 หมู่บ้าน 1. เมือง 2. สันป่าตอง 3. เชียงดาว 4. จอมทอง 5. สันทราย โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ www.themegallery.com

วิธีการศึกษา (ต่อ) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ผู้ที่มีอาการปวดหลังส่วนเอว โดยผ่านการคัดกรองจากโครงการวิจัยเรื่องความชุกของผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอวในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 484 คน ระหว่างเดือนตุลาคม 2551-กันยายน 2552 คัดออก 22คน (484----462) - ตั้งครรภ์ - ปวดหลังระดับ C, T พิการ (กาย, การได้ยิน/สื่อสาร, จิต) 2 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ www.themegallery.com

สรุปพื้นที่และจำนวนตัวอย่าง 90 คน 30 คน 70 คน 24 คน 38 คน 42 คน 57 คน 27 คน 40 คน 66 คน www.themegallery.com

วิธีการศึกษา (ต่อ) เครื่องมือวิจัย 1. แบบประเมินข้อจำกัดความสามารถของออสเวสต์ทรี (Oswestry Low Back Pain Disability Questionnaire) ที่พัฒนาเป็นฉบับภาษาไทยโดย ประเสริฐ สกุลศรีประเสริฐ และคณะ (2549) (reliability = 0.98 ) Try out ---- reliability = 0.84 2. แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ที่พัฒนาจากแนวคิดของ Pender (1996) Try out ---- reliability = 0.92 www.themegallery.com

แบบประเมินภาวะจำกัดความสามารถออสเวสต์ทรี (Oswestry Low Back Pain Disability Questionnaire) www.themegallery.com

แบบประเมินภาวะจำกัดความสามารถออสเวสต์ทรี (Oswestry Low Back Pain Disability Questionnaire) www.themegallery.com

แบบประเมินภาวะจำกัดความสามารถออสเวสต์ทรี (Oswestry Low Back Pain Disability Questionnaire) www.themegallery.com

วิธีการศึกษา (ต่อ) เกณฑ์การให้คะแนน ลักษณะคำตอบ คะแนน ลักษณะคำตอบ คะแนน กิจกรรมที่ทำได้เอง ไม่รู้สึกปวด 0 กิจกรรมที่ทำได้เอง แต่รู้สึกปวดเล็กน้อย พอทนได้ 1 กิจกรรมที่ทำได้เองบางส่วนและรู้สึกปวดเล็กน้อย ทานยาก็หาย 2 กิจกรรมที่ทำได้เป็นส่วนน้อย รู้สึกปวดค่อนข้างมาก 3 ทานยาแล้วดีขึ้น กิจกรรมที่ต้องขอความช่วยเหลือ รู้สึกปวดมาก 4 ทานยาแล้วดีขึ้นเป็นบางครั้ง ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ปวดรุนแรงมากทานยาแล้วไม่หาย 5 www.themegallery.com

วิธีการศึกษา (ต่อ) การแปลผล คะแนน 0-20 % = minimal disability คะแนน 21-40 % = moderate disability คะแนน 41-60 % = severe disability คะแนน 61-80 % = crippled disability คะแนน 81-100 % = bed-bound disability (M Douglas & DC Gillard. The Oswestry Index. Spine 2000) คะแนนสูง (41-100)=ภาวะจำกัดสูง ความสามารถทำกิจกรรมต่ำ คะแนนต่ำ (0-40) =ภาวะจำกัดต่ำ ความสามารถทำกิจกรรมสูง www.themegallery.com

แบบประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง (Health-promoting life style profile II : HPLP_II, Pender, 1996: 134 ) www.themegallery.com

วิธีการศึกษา (ต่อ) การแปลผล 1.00-1.66 = พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองไม่ดี/ไม่ถูกต้อง 1.67-2.33 = พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองปานกลาง 2.34-3.00 = พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองดี www.themegallery.com

วิธีการศึกษา (ต่อ) 2 สถิติที่ใช้ t-test, one-way ANOVA, Mann –Whitney U test, Kruskal-wallis test clustered poisson regression โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ 2 www.themegallery.com

ผลการศึกษา ภาวะจำกัดความสามารถ จำแนกตามเกณฑ์การให้คะแนน ลักษณะ จำนวน ภาวะจำกัดความสามารถ จำแนกตามเกณฑ์การให้คะแนน ลักษณะ จำนวน ร้อยละ ภาวะจำกัดความสามารถ ไม่รุนแรง (0-40 %) 444 96.1 รุนแรง (41-100 %) 18 3.9 * ค่าเฉลี่ย = 14.46 % ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน =11.43 ค่าต่ำสุด = 0 ค่าสูงสุด =70% กลุ่มตัวอย่างเกือบทั้งหมดหรือร้อยละ 96.1 มีภาวะจำกัดไม่รุนแรงหรือ minimal to moderate disability www.themegallery.com

ผลการศึกษา (ต่อ) ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว ลักษณะ จำนวน ภาวะจำกัดความสามารถ P – value S.D. เพศ ชาย 186 13.76 1.21 0.087 หญิง 276 27.60 1.09 อายุ 16 – 25 ปี 23 8.17 6.20 0.018 26 – 35 ปี 67 13.94 1.16 36 – 45 ปี 97 13.70 1.07 46 – 60 ปี 275 15.39 1.18 เพศหญิง มีภาวะจำกัดสูงกว่าเพศชาย แต่ไม่มีนัยสำคัญ ผู้ที่มีอายุระหว่าง 46-60 ปี มีภาวะจำกัดสูงกว่ากลุ่มอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญ 2 www.themegallery.com

ผลการศึกษา (ต่อ) ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว ลักษณะ จำนวน ภาวะจำกัดความสามารถ P – value S.D. ดัชนีมวลกาย น้อยกว่าปกติ (12.00-18.49) 26 15.00 1.64 0.125 ปกติ (18.50-24.99) 285 13.55 1.04 มากกว่าปกติ (25.00-40.00) 151 16.09 1.21 ที่อยู่ (อำเภอ) จอมทอง 80 13.06 1.01 0.001 เชียงดาว 92 17.04 1.28 สันทราย 105 11.83 1.06 สันป่าตอง 81 14.77 1.31 เมือง 104 16.52 www.themegallery.com

ผลการศึกษา (ต่อ) ลักษณะ จำนวน ภาวะจำกัดความสามารถ P-value S.D. อาชีพ กลุ่มอาชีพที่เสี่ยงต่อการปวดหลังน้อย 32 16.37 1.52 0.843 กลุ่มอาชีพที่เสี่ยงต่อการปวดหลังปานกลาง 110 14.40 1.22 กลุ่มอาชีพที่เสี่ยงต่อการปวดหลังมาก 320 14.29 1.07 ระยะเวลาในการประกอบอาชีพ น้อยกว่า 5 ปี 127 13.59 1.04 0.125 5 – 10 ปี 103 13.55 1.09 มากกว่า 10 ปี 232 15.34 0.75 ระยะเวลาทำงานต่อวัน (ชั่วโมง) ≤ 8 325 14.33 11.36 0.747 > 8 137 14.79 11.61 ปัจจัยด้านอาชีพ ระยะเวลาในการประกอบอาชีพ และระยะเวลาทำงานต่อวัน ไม่มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว www.themegallery.com

ผลการศึกษา (ต่อ) ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว ลักษณะ จำนวน ภาวะจำกัดความสามารถ P – value S.D. ระยะเวลาที่ปวด น้อยกว่า 3 เดือน 26 15.00 1.64 0.125 3-6 เดือน 285 13.55 1.04 มากกว่า 6 เดือน 151 16.09 1.21 ระดับความเจ็บปวด ปวดน้อย 116 9.65 9.08 0.001 ปวดปานกลาง 252 14.53 1.09 ปวดมาก 94 20.21 1.27 ระดับความเจ็บปวด มีผลต่อภาวะจำกัดความสามารถผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว โดยที่กลุ่มที่ปวดมาก จะมีภาวะจำกัดสูงกว่ากลุ่มอื่น อย่างมีนัยสำคัญ www.themegallery.com

ผลการศึกษา (ต่อ) ลักษณะ ความแตกต่าง () 95 % CI P-value อายุ 16 - 25 ปี - 26 – 35 ปี 3.09 - 0.05 - 6.22 0.050 36 – 45 ปี 3.17 1.78 - 4.56 0.001 46 – 60 ปี 5.03 1.82 - 8.24 0.002 ระดับความเจ็บปวด ปวดน้อย ปวดปานกลาง 4.61 6.89 - 13.63 ปวดมาก 10.26 2.97 - 8.53 www.themegallery.com 2

www.themegallery.com

ผลการศึกษา (ต่อ) เมื่อพิจารณาตัวแปรหลายตัวพร้อมๆ กัน มีเพียง 2 ลักษณะคือ ตัวแปรกลุ่มอายุและระดับความเจ็บปวด เท่านั้น ที่มีความสัมพันธ์กับภาวะจำกัดความสามารถในการดำเนินชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ เมื่อใช้กลุ่มอายุ 16 - 25 ปี เป็นฐาน พบว่า - กลุ่มอายุ 26 – 35 ปี มีภาวะจำกัดความสามารถ เพิ่มขึ้น 3 คะแนน เช่นเดียวกับกลุ่มอายุ 36 – 45 ปี - กลุ่มอายุ 46 – 60 ปี มีภาวะจำกัดความสามารถเพิ่มขึ้น 5 คะแนน www.themegallery.com

www.themegallery.com

ผลการศึกษา (ต่อ) และ เมื่อใช้ระดับความเจ็บปวดที่มีระดับความรุนแรงน้อยเป็นฐาน พบว่า - กลุ่มที่มีระดับความเจ็บปวดปานกลาง มีภาวะจำกัด ความสามารถเพิ่มขึ้น 4 คะแนน - กลุ่มที่มีระดับความเจ็บปวดมาก มีภาวะจำกัด ความสามารถเพิ่มขึ้น 10 คะแนน www.themegallery.com

ผลการศึกษา (ต่อ) พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอว องค์ประกอบ แปลผล ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ 2.29 0.38 ปานกลาง 2. ด้านการทำกิจกรรม 2.03 0.29 3. ด้านโภชนาการ 2.42 0.27 ดี 4. ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2.51 0.39 5. ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ 2.54 0.31 6. ด้านการจัดการกับความเครียด 2.58 0.30 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองโดยรวม 2.39 0.19 S.D. www.themegallery.com

ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลผลพฤติกรรมสุขภาพ ผลการศึกษา (ต่อ) ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลผลพฤติกรรมสุขภาพ www.themegallery.com

สรุปผล 1 96.1 % ของผู้ป่วยปวดหลังส่วนเอวในจังหวัด เชียงใหม่ มีภาวะจำกัดความสามารถอยู่ในระดับ ไม่รุนแรง (minimal to moderate disability) 1 ภาวะจำกัดความสามารถในการทำกิจกรรมต่างๆ จะเพิ่มขึ้นตามอายุ และระดับของอาการปวดหลัง 2 - พฤติกรรมสุขภาพโดยรวมอยู่ในระดับดี - พฤติกรรมสุขภาพไม่ดี  posture +poor exercise 3 โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ www.themegallery.com

ข้อเสนอแนะ ควรให้สุขศึกษาหรือรณรงค์ประชาชนวัยผู้ใหญ่ ให้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อป้องกันภาวะปวดหลัง - การหยิบของจากพื้นที่ถูกวิธี -------ย่อเข่า ออกกำลังกาย บริหารกล้ามเนื้อหน้าท้องและหลัง เพื่อให้กล้ามเนื้อแข็งแรง โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ จัดกิจกรรมต่างๆ โครงการอบรมให้ความรู้สู่ประชาชนเรื่อง “ปวดหลัง..ป้องกันได้” ให้สุขศึกษาแก่ผู้ป่วยและญาติ “Spine Clinic” โครงการเยี่ยมบ้าน www.themegallery.com

กิตติกรรมประกาศ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนเงินงบประมาณ ปี 2552 แพทย์หญิงผุสดี ธรรมานวัตร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร. ร้อยเอก นายแพทย์ชยันตร์ธร ปทุมานนท์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.นิ่มอนงค์ งามประภาสม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อาจารย์ถนัด บุญไชย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ เจ้าหน้าที่สถานีอนามัย จ.เชียงใหม่ คุณอนงค์ ขันคำ คุณณิชาภา หน่อตุ้ย โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ www.themegallery.com

ขอบคุณค่ะ www.themegallery.com