การสร้างแผนงาน/โครงการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
Advertisements

(District Health System)
โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
โรงเรียน อสม.ตำบลหนองไม้แก่น
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
การปฏิรูปโครงการสุขภาพ
การปรับแนวคิดพื้นฐานเรื่องการ สนับสนุนของกองทุนฯตำบล รูป แบบเดิม รูปแบบ ใหม่
(District Health System)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
นวัตกรรมสังคม ใน การจัดการระบบสุขภาพ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การจัดการค่า กลาง. ค่ากลางคือ อะไร ? %100% 65 การยกระดับคุณภาพของแผนงาน / โครงการ * โดยใช้ค่ากลาง ความถี่ สูงสุด % งา น บริเวณค่า.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
คำแนะนำสำหรับกระทรวง สาธารณสุข  จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบ สุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การ กำหนดค่ากลางของ ความสำเร็จของโครงการ สุขภาพระดับเขต เพื่อส่ง มอบให้จังหวัดนำเข้าสู่
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างแผนงาน/โครงการ ท้องถิ่น/ตำบลแบบบูรณาการ

ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น วิสัยทัศน์ ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรง และทางอ้อมอย่างยั่งยืน ตัวชี้วัดการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 1..ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. เชี่ยวชาญ (ไม่น้อยกว่า 48) 2. ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ใช้ SRM หรือเครื่องมืออื่นๆในการทำแผนพัฒนาสุขภาพ (ไม่น้อยกว่า 50)

กระบวนการสนับสนุนอำเภอ / ตำบลจัดการสุขภาพ

การจัดการค่ากลาง ขั้นตอนการวิเคราะห์และกำหนดค่ากลางที่คาดหวัง กิจกรรมในโครงการ วิเคราะห์/ กำหนดชุดงาน

การจัดการค่ากลาง ขั้นตอนการบูรณาการ

บูรณาการแบบที่ 1 : ระหว่างงานของฝ่ายปฏิบัติกับฝ่ายสนับสนุน ภายในประเด็นเดียวกัน สนับสนุน สื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ SRM / ค่ากลาง จัดการเป้าหมาย/สภาวะแวดล้อม เฝ้าระวัง/คัดกรอง ใช้มาตรการสังคม ปรับแผนท้องถิ่น/ตำบล

บทบาทการปรับทิศทางระบบสาธารณสุข บูรณาการแบบที่ 2 : ระหว่างงานของประเด็น ปัญหาต่างๆที่มีความสัมพันธ์กัน

ต้องปรับภาพนี้ให้เหมาะกับกลุ่มวัยที่กำหนดก่อนนำไปใช้ ประเด็นที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพกลุ่มวัยต่างๆ โปรดทราบ! ต้องปรับภาพนี้ให้เหมาะกับกลุ่มวัยที่กำหนดก่อนนำไปใช้ การจัดการสุขภาพกลุ่มวัย ขึ้นกับการจัดการ กลุ่มเป้าหมาย(1 2 6) และสภาวะแวดล้อม(3 4 5)

แผนผังการสร้างแผนงาน/โครงการของท้องถิ่น/ตำบลแบบบูรณาการ จัดลำดับความสำคัญของงานสนับสนุนเน้นตามบริบทของพื้นที่ จัดลำดับความสำคัญของกิจกรรม

การสร้างแผนงาน/โครงการสุขภาพกลุ่มวัยสูงอายุ งานเบาหวาน/ความดันฯ จากการกำหนดค่ากลาง การสร้างแผนงาน/โครงการสุขภาพกลุ่มวัยสูงอายุ เริ่มที่ปัญหาเบาหวาน/ความดันฯ แล้วขยายสู่โรคแห่งความเสื่อมอื่นๆ งานปฏิบัติและสนับสนุนที่สัมพันธ์กับเบาหวาน/ความดันในกล่องอื่นๆ (2-6) คืออะไร ค่ากลาง ค่ากลาง ค่ากลาง สุขภาพกลุ่มวัยสูงอายุ การจัดการกลุ่มเป้าหมาย (1 2 6) และสภาวะแวดล้อม (3 4 5) ค่ากลาง ค่ากลาง ค่ากลาง

บัญชีค่ากลางที่คาดหวังของจังหวัด กระบวนการสร้างโครงการท้องถิ่น/ตำบล 1. กำหนดค่ากลาง 2. บูรณาการ บัญชีค่ากลางที่คาดหวังของจังหวัด บูรณาการ 3. สร้างโครงการ

(สำหรับชุดงานที่สัมพันธ์กับเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง) ตารางช่วยบูรณาการงานจากหลายองค์ประกอบ (สำหรับชุดงานที่สัมพันธ์กับเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง) กลุ่มงาน งานฝ่ายปฎิบัติ (ท้องถิ่น/ตำบล) งานฝ่ายสนับสนุน (สสจ./เขต/ภาค) 1. โรคเบาหวาน/ความดันฯ 2. สุขภาพจิต 3. โภชนาการ 4. อาหารปลอดภัย 5. อุบัติเหตุ 6. สภาวะแวดล้อมทาง กายภาพ / สังคม /เศรษฐกิจ ชุดงาน บูรณาการ ที่ 1 ชุดงาน บูรณาการ ที่ 2 ชุดงานสำหรับกลุ่มเป้าหมาย ชุดงาน บูรณาการ ที่ 3 ชุดงาน บูรณาการ ที่ 4 ชุดงานสำหรับสภาวะแวดล้อม

ตารางนิยามกิจกรรม : การจัดการ (กลุ่มเป้าหมาย หรือ สภาวะแวดล้อมของกลุ่มเป้าหมาย)

บูรณาการการจัดการสภาวะแวดล้อมทุกโครงการและเปิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แผนท้องถิ่น/ตำบล สนับสนุนโครงการ ประเมินผล และป้อนกลับ สนับสนุนวิชาการ โครงการกลุ่มวัยต่างๆ ระบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

โครงการการดูแลผู้สูงอายุแยกรายประเด็น โครงการดูแลผู้สูงอายุบูรณาการ ตารางเปรียบเทียบการบูรณาการการดูแลผู้สูงอายุ ตำบลหนองตอง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 2557 โครงการการดูแลผู้สูงอายุแยกรายประเด็น โครงการดูแลผู้สูงอายุบูรณาการ ลำดับ โครงการ งบประมาณ (บาท) 1 โครงการดูแลผู้สูงอายุ 19200 การจัดการกลุ่มเป้าหมาย 31200 2 โครงการโภชนาการ 19000 การจัดการสิ่งแวดล้อม 54500 3 โครงการป้องกันวัณโรค 9500   4 โครงการ DM&HT 14000 5 โครงการอาหารปลอดภัย 6 โครงการขยะ 24500 7 โครงการอุบัติภัย 16000 รวมงบประมาณ 116200 85700

ตารางการเปรียบเทียบการบูรณาการการดูแลผู้สูงอายุ ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี ๒๕๕๖ - ๒๕๕๗ โครงการการดูแลผู้สูงอายุแยกรายประเด็น ๒๕๕๖ โครงการดูแลผู้สูงอายุบูรณาการ ๒๕๕๗ ลำดับ โครงการ งบประมาณ (บาท) 1 โครงการดูแลผู้สูงอายุ 42,000.00 การจัดการกลุ่มเป้าหมาย 140,650.00 2 โครงการโภชนาการ 17,300.00 การจัดการสิ่งแวดล้อม 117,250.00 3 โครงการป้องกันวัณโรค/โรคเอดส์ 20,140.00   4 โครงการ DM&HT 106,200.00 5 โครงการอาหารปลอดภัย 29,400.00 6 โครงการขยะ 47,000.00 7 โครงการอุบัติภัย 50,000.00 รวมงบประมาณ 312,040.00 257,900.00

โครงสร้างการสนับสนุนของหน่วยงานระดับต่างๆ ความต้องการสนับสนุน จากโครงการภาคประชาชน เจรจาความร่วมมือ การสนับสนุนวิชาการจากภาครัฐ

การสร้างกระบวนการปรับแผนงาน/โครงการของท้องถิ่น/ตำบล

ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.amornsrm.net ขอขอบคุณ