น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์ 7 กรกฎาคม 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

นำเสนอข้อมูลการใช้ยา กลุ่มที่ต้องมีการเฝ้าระวังการสั่งใช้ โรงพยาบาลสระบุรี ปี 2549 (1 ต.ค เม.ย.49)
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
การเพิ่มประสิทธิภาพ การส่งเบิกสวัสดิการรักษาพยาบาล
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
Risk Management JVKK.
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
แนวทางการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ประจำปี 2551
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
กลุ่ม 2 กำหนดมาตรฐานยา รพ.ทบ..
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเทศ - ๑
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
งานบริหารความเสี่ยง Risk management (RM)
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ
ระเบียบวาระที่ 3.2 ความก้าวหน้าของการจัดทำฐานข้อมูลระบบสารสนเทศข้าราชการระดับกรม (DPIS)
การปรับปรุงอัตรากรมแพทย์ทหารเรือ
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
การพัฒนาระบบการกระจายวัคซีน & รายงานผลงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
Waiting time (OPD) ตามมาตรฐานงานเภสัชกรรมโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
สารสนเทศกับการพัฒนางาน โรงพยาบาล
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
หลักการ วิเคราะห์ คำนวณภาระงาน และคำนวณ FTE ของบุคลากรแต่ละกลุ่ม
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
Point of care management Blood glucose meter
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
CQI เวชระเบียนผู้ป่วยใน หาย วัตถุประสงค์ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 1. ป้องกันเวชระเบียนผู้ป่วยใน สูญหาย / หาไม่พบ 2. สามารถค้นหาเวชระเบียน.
โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10.
ข้อเสนอและทางเลือก คลินิกอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลกมลาไสย (กลุ่มครูและบุคลากรทางการศึกษา) ความร่วมมือระหว่าง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
National Health Security Office 1. Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว)
สรุปผลงาน ปีงบประมาณ 2552 ( ตุลาคม กันยายน 2552 )
การบริหารและพัฒนาบุคลากร HR /HRD
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
โรงพยาบาลอาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด
ภารกิจจัดที่ดิน ปีงบประมาณ 2553
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
 เพื่อเป็นการธำรงคุณภาพของงานด้านเภสัชกรรม ตามที่มีการวางระบบไว้และเป็นโอกาสพัฒนางาน ด้านเภสัชกรรมด้านต่างๆสำหรับเภสัชกรที่ หมุนเวียนมารับหน้าที่
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์ 7 กรกฎาคม 2553 นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 ระบบสารสนเทศ กับการบริหารยา รพ.ภูมิพลอดุลยเดช เรียน ท่านผู้บัญชาการทหารอากาศและผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่านกระผม นาวาอากาศเอก ทวีพงษ์ ปาจรีย์ ประธานคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช ได้รับมอบหมายจากท่านเจ้ากรมแพทย์ทหารอากาศ ให้มานำเสนอ ระบบสารสนเทศทางการแพทย์ทอ. Air Force Medical Services IT “Road to the Future” น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์ 7 กรกฎาคม 2553 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 ร.พ.ภูมิพลอดุลยเดช โรงพยาบาลหลักของกองทัพอากาศ จำนวนเตียงที่ให้บริการทั้งสิ้น 770 เตียง จำนวนผู้รับบริการผู้ป่วยนอก 672,800 ครั้ง (ม.ค. – ธ.ค. 2552) จำนวนผู้รับบริการผู้ป่วยใน 24,165 ครั้ง (ม.ค. – ธ.ค. 2552) กำลังพล แพทย์ 400 คน พยาบาล 776 คน น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

วิสัยทัศน์ ระบบสารสนเทศรพ.ภูมิพลอดุลยเดช นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 วิสัยทัศน์ ระบบสารสนเทศรพ.ภูมิพลอดุลยเดช Digital Hospital In the Year 2554 (2551 – 2554) วิสัยทัศน์ของระบบสารสนเทศทางการแพทย์ของ ทอ. คือ Digital Medical Services In the Year 2554 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

Digital Hospital รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 Digital Hospital รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ. โครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ทดแทน มูลค่า 75 ล้านบาท ต.ค. 2549 ถึง ก.ย. 2551 เริ่มใช้ ม.ค. 2551 เต็มระบบ ก.ค. 2551 ปรับปรุงระบบบริหารจัดการของ รพ.ใหม่ทั้งระบบโดยใช้ระบบสารสนเทศเป็นเครื่องมือสำคัญ เน้นการพัฒนาบุคลากรของรพ.ให้มีส่วนร่วมมากที่สุด รพ.ภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งเป็นรพ.หลักของกองทัพอากาศ จึงมีเป้าหมายที่จะเป็น Digital Hospital โดยได้รับงบประมาณเพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศทั้งระบบ จำนวน 75 ล้านบาท และเริ่มพัฒนาตั้งแต่ ตุลาคม 2549 จนแล้วเสร็จใช้งานทั้งระบบในเดือน กรกฎาคม 2551 โดยที่ผู้บริหารรพ. มีนโยบายที่จะปรับปรุงระบบการทำงานของรพ.ใหม่ทั้งระบบ เพื่อให้มีความทันสมัยและตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในระบบการให้บริการสาธารณสุขสมัยใหม่ ซึ่งเน้นการบริหารข้อมูลเป็นหลัก โดยใช้ระบบสารสนเทศเป็นเครื่องมีอสำคัญ นอกจากนี้ ยังเน้นการพัฒนาบุคลากรของรพ. ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบให้มากที่สุด น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

Digital Hospital รพ.ภูมิพลอดุลยเดช นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 Digital Hospital รพ.ภูมิพลอดุลยเดช แพทย์ เวชระเบียน การเงิน เภสัชกรรม พยาธิวิทยา X ray LAB อื่นๆ ข้อมูลทั้งหมดอยู่ในรูปแบบดิจิตอล เน้นการใช้งานในทุกระดับ อบรมแพทย์ 420 คน (95 %) อบรมพยาบาล 700 คน อบรมเจ้าหน้าที่สนับสนุนการรักษา 1,000 คน ในปัจจุบัน ข้อมูลเกือบทั้งหมดของรพ.อยู่ในรูปแบบของดิจิตอล เน้นการใช้ข้อมูลในการบริหารจัดการในทุกระดับ มีการอบรมบุคลากรกว่า 2000 คน เพื่อให้ใช้งานระบบสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเน้นความสำคัญที่แพทย์ เพราะเป็นศูนย์กลางของการบริหารข้อมูลที่สำคัญของโรงพยาบาล น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

เวชระเบียน ตรวจสอบสิทธิ นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 เวชระเบียน ตรวจสอบสิทธิ การให้บริการในปัจจุบัน ข้อมูลอยู่ในรูปแบบของดิจิตอล ตั้งแต่ผู้ป่วยเริ่มมารับบริการที่เวชระเบียน การตรวจสอบสทธิ น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา ห้องตรวจโรค 04/04/60 ข้อมูลจะถูกส่งไปที่ห้องตรวจโรค พยาบาลบันทึกข้อมูลที่สำคัญเข้าในระบบ และส่งผู้ปวยให้แพทย์ตรวจ น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 ห้องตรวจโรค (แพทย์) บันทึกประวัติ ตรวจร่างกาย วินิจฉัยโรค (ICD9 ICD10) สั่งยา การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เอกซเรย์ นัดผู้ป่วย น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

ประวัติการใช้ยาย้อนหลัง

Electronic OPD card

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 กราฟแสดงระดับน้ำตาล ตัวอย่างการเข้าดูข้อมูลผู้ป่วย รูปนี้เป็นกราฟแสดงระดับน้ำตาลในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานในรอบหนึ่งปี จะเห็นได้ว่าระดับน้ำตาลของผู้ป่วยรายนี้เริ่มสูงเกินมาตรฐานในช่วงหลังของการรักษา น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 ใบแนะนำการตรวจรักษา ใช้แทนใบสั่งยา ใบสั่งตรวจ การรักษาต่าง ๆ และคำแนะนำผู้ป่วย เมื่อแพทย์ให้การรักษาผู้ป่วยเสร็จ ผู้ป่วยจะได้รับใบแนะนำการตรวจรักษา ซึ่งใช้แทนใบสั่งยา ใบสั่งตรวจต่างๆ และมีคำแนะนำการปฏิบัติตัวต่างๆให้ผู้ป่วยทราบ ผู้ป่วยจะใช้ใบนี้เข้ารับการบริการตามจุดต่างๆ ผ่านรหัส Barcode น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา ระบบสารสนเทศรพ.ภูมิพลอดุลยเดช 04/04/60 04/04/60 ห้องจ่ายยา ผู้ป่วยนำใบแนะนำการตรวจรักษาเข้ารับบริการที่ห้องจ่ายยา น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์ น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์ 14

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 แผนกเภสัชกรรม ดำเนินการจัดยาตามที่แพทย์ได้บันทึกไว้ในระบบสารสนเทศ น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 ผู้ป่วยรับยา น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

เปรียบเทียบระยะเวลารอคอยรับยา ก่อนและหลังใช้ระบบ นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 เปรียบเทียบระยะเวลารอคอยรับยา ก่อนและหลังใช้ระบบ นาที ลดลง 24 % ลดลง 37.2 % ลดลง 30.9 % ลดลง 47.2 % ลดลง 15.9 % ลดลง 16 % ลดลง 24.7% ตัวอย่างการพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการผู้ป่วย กราฟนี้แสดงถึงระยะเวลารอคอยการรับยาของผู้ป่วย โดยที่ก่อนใช้ระบบ ผู้ป่วยทั่วไปต้องรอถึง 80 นาที ในชั่วโมงเร่งด่วน ในระบบใหม่ สามารถลดระยะเวลารอคอยเหลือ 50 นาที หรือ 37.2 % ในส่วนของข้าราชการทอ. สามารถลดระยะเวลารอคอยรับยาลงได้จาก 60 นาที เหลือ 32 นาที หรือลดได้ 47.2 % ลดลง 35.8 % น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

ค่าใช้จ่าย ด้านการรักษาพยาบาล Air Force Medical Services IT 04/04/60 ค่าใช้จ่าย ด้านการรักษาพยาบาล สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงมาก ปีงบประมาณ 2548 จำนวน 3 หมื่นล้านบาท เพิ่มเป็น 8 หมื่นล้านบาทในปีนี้ นโยบายใช้จ่ายอย่างประหยัดและคุ้มค่าโดยเฉพาะการใช้ยาในผู้ป่วยนอก ปัจจุบัน ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลข้าราชการมีอัตราเพิ่มในเกณฑ์ที่สูงมาก โดยเพิ่มจาก 3 หมื่นล้านบาท ในปี 2548 และคาดว่าจะสูงถึง 8 หมื่นล้านล้านบาทในปีนี้ รัฐบาลจึงมีนโยบายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล ใช้จ่ายอย่างประหยัดและคุ้มค่า โดยเฉพาะการใช้ยาในผู้ป่วยนอก น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นโยบายด้านการบริหารยา นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 นโยบายด้านการบริหารยา คณะกรรมการยาของรพ.ทำหน้าที่กำหนดนโยบายและตรวจสอบการใช้ยาของแพทย์ ร่วมกับองค์กรแพทย์ แพทย์รับผิดชอบในการสั่งยาทุกกรณี เภสัชกรไม่สามารถเพีมจำนวนยาในใบสั่งยาแพทย์ได้ แบ่งกลุ่มแพทย์ที่สามารถสั่งยาในกลุ่มควบคุมต่างๆ กำหนด max dose, ระยะเวลา น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 หลักการ แพทย์ที่ไม่มีสิทธิสั่งยาสามารถ remed ยาเดิมของผู้ป่วยได้ แต่ไม่มีสิทธิสั่งยาใหม่ (Authorization) แต่ไม่เกิน 6 เดือน ยาบางกลุ่มจะถูก lock ให้ต้องสั่งใหม่ทุกครั้ง ไม่สามารถใช้คำสั่ง remed โดยแพทย์ผู้อื่นได้ มีการบันทึก DUE, SMP,Non ED แบบ electronics น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

Drug Utilization evaluation นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 การประเมินการใช้ยา Drug Utilization evaluation น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 ความเป็นมา เริ่มทำ ปี 2545 พัฒนาการทำ DUE ปี 2550 ระบบสารสนเทศ 2551 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 DUE ปี 2545 - 2550 HA กับงานคุณภาพ : มาตรฐานที่ 3 ของเภสัชกรรม DUE : Statin, Carbapenam, Vancomycin เป็นระบบ manual ต้องทำทุกครั้ง ปัญหา การไม่ยอมรับในการทำงาน เพิ่มภาระงาน ความถูกต้อง การประเมินผล Manual น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 DUE ปี 2550 เพิ่ม DUE ในกลุ่ม Statin, Clopidogrel, Thiazolidinedione, Gabapentin จัดทำแบบฟอร์ม ให้สะดวกในการกรอกข้อมูล และประเมินผล น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 DUE ปี 2551 - ปัจจุบัน ใช้ระบบสารสนเทศ แพทย์เป็นผู้บันทึกใบสั่งยาด้วยตัวเอง ยกเลิกใบสั่งยาผู้ป่วยนอก การบันทึกข้อมูล DUE, SMP, Non ED indication โดยระบบสารสนเทศ ใช้ระบบสารสนเทศช่วยในการประเมินผลและ feedback น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

การประเมินการใช้ยา และเหตุผลการสั่งใช้ DUE นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 การประเมินการใช้ยา และเหตุผลการสั่งใช้ DUE น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

เหตุผลประกอบการสั่งใช้ PPI นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 เหตุผลประกอบการสั่งใช้ PPI ลำดับ เหตุผลการสั่งใช้ จำนวน 1 Non variceal Bleeding 35 2 Gastric ulcder , Duodenal ulcer , Gastritis 265 3 GERD , NERD 300 4 Non – ulcer dyspepsia ( หลังทำ scope หรือ GI study ) 41 5 ใช้ร่วมกับยา NSAID ในกรณีที่มี ปัจจัยเสี่ยง 295 6 ใช้ omeprazole แล้วไม่ได้ผล 215 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

เหตุผลประกอบการสั่งใช้ COX II นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 เหตุผลประกอบการสั่งใช้ COX II ลำดับ เหตุผลการสั่งใช้ จำนวน 1 มี GI risk ผู้ป่วยอายุมากกว่า 65 ปี ขึ้นไป 689 2 มี GI risk ผู้ป่วยมีประวัติการใช้ High dose NSAIDS 324 3 มี GI risk ผู้ป่วยมีประวัติ Ulcer 794 4 มี GI risk ผู้ป่วยได้รับยา ASA, corticosteroid หรือ anticoagulant ร่วมในการรักษา 77 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 การควบคุมการใช้ยา ก่อน หลัง จากรูปแสดงให้เห็นว่า เมื่อเริ่มใช้ระบบ การใช้ยาในกลุ่มควบคุมมีแน้วโน้มลดลง บาท น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 การประเมินผล สามารถเก็บข้อมูลได้ครบถ้วนมากขึ้น การตรวจสอบเบื้องต้นผ่าน electronic OPD และรายงานต่างๆ ทราบแนวทางการใช้ยาของแพทย์แต่ละท่าน สรุปประเด็น นำเสนอคณก.บริหารและนำไปสู่การแก้ไขร่วมกับองค์กรแพทย์ น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 การประเมินผล มีระบบรายงานจากสารสนเทศ รายงานปริมาณยาที่สั่งมากเกินกำหนดในช่วงเวลาที่กำหนด รายงานผลการทำ DUE ในแต่ละกลุ่ม แยกตามข้อบ่งชี้ แพทย์ และผู้ป่วย รายงานการใช้ยา 20 อันดับแรกของรพ. รายงานแพทย์ 50 ท่านแรกที่สั่งยาสูงสุดตามมูลค่า ฯลฯ น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

โครงการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศ ๒๗ คลินิก นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 โครงการเชื่อมโยงระบบสารสนเทศ ๒๗ คลินิก เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลการรักษาพยาบาลผู้ป่วยประกันสุขภาพระหว่างคลินิกชุมชนอบอุ่น 27 คลินิกกับรพ.ภูมิพลอดุลยเดชในแบบ Real Time ฐานข้อมูลสุขภาพประชากรบัตรทองใน 5 เขตจำนวน 200,000 คน งบประมาณ สปสช ระยะเวลาโครงการ ต.ค. 52 ถึง ก.ย. 53 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

โครงการเชื่อมข้อมูลสารสนเทศ 27 คลินิก นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 โครงการเชื่อมข้อมูลสารสนเทศ 27 คลินิก น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

ภาพการทำงานฝั่งคลินิก นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 ภาพการทำงานฝั่งคลินิก น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

ภาพการทำงานฝั่งโรงพยาบาล ฯ นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 ภาพการทำงานฝั่งโรงพยาบาล ฯ น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

เครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศ นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 04/04/60 เครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศ เชื่อมโยงข้อมูลการรักษาพยาบาลแบบ real time ระหว่าง รพ.ภูมิพลอดุลยเดชและ รพ.กองบิน รวมถึงกองเวชศาสตร์ป้องกัน แพทย์ที่ให้บริการสามารถตรวจสอบข้อมูลการรักษาพยาบาลของผู้ป่วยที่ไปใช้บริการได้ตลอดเวลา มีฐานข้อมูลรวมของกองทัพอากาศเกี่ยวกับสุขภาพของข้าราชการและครอบครัว เริ่มโครงการ 2555 ประสบการณ์ที่ได้จากโครงการนี้ จะนำไปสู่การพัฒนาระบบเครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศ เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลทั้งหมดของกองทัพอากาศ ทำให้แพทย์สามารถเข้าถึงข้อมูลของผู้มารับบริการได้ และเป็นฐานข้อมูลรวมเกี่ยวกับสุขภาพของข้าราชการ คาดว่าจะเริ่มโครงการในปี 2555 น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

เครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศ นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา เครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศ 04/04/60 รพ.กองบิน สถาบันเวชศาสตร์การบิน กองเวชศาสตร์ป้องกัน รพ.จันทรุเบกษา รพ.ภูมิพลอดุลยเดช แสดงถึงรูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่ายสุขภาพกองทัพอากาศ น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์

นำเสนอระบบสารสนเทศด้านบริหารยา 4/4/2017 สรุป ระบบสารสนเทศเป็นเพียงเครื่องมือที่ช่วยในการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ นโยบายของกรมบัญชีกลาง และผู้บริหารระดับสูงและความร่วมมือของแพทย์มีส่วนสำคัญที่สุดที่จะทำให้การควบคุมค่าใช้จ่ายด้านยาของประเทศประสบความสำเร็จ น.อ.ทวีพงษ์ ปาจรีย์