นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การศึกษาการใช้ Tienam ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาล
Sulperazon.
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ
แนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ (o – net) ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนสรวงสุทธาวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต.
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
กลุ่ม ๕.
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE.
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การประเมินผลผลลัพธ์การดำเนินงาน ที่สำคัญ ( พ. ศ. ๒๕๕๓ ) ๑. ความพึงพอใจของประชาชนต่อคุณภาพ การให้บริการของหน่วยงานระดับ Front Office ( ๓. ๑. ๑. ๑ ) ๒. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการ.
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
10 ลำดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
ระบาดวิทยาโรคปอดบวมของจังหวัดเพชรบุรี
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
สำนักวิชาการและแผนงาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การเปรียบเทียบทศนิยม และการใช้เครื่องหมาย  ,  ,  และ 
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ธันวาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
สรุปผลสัมฤทธิ์ปีการศึกษา 2552 ชั้ น จำนว นสาระการเรียนรู้ นักเรี ยนทค ค. เพิ่มวสพ.พ. ศ.ศ. ดน ตรีง.ง. คอ ม. อ อ. เพิ่ม ป.1ป
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา กุมภาพันธ์ 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
RMCDOTNET โปรแกรมบริหารระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา มิถุนายน 2554 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตุลาคม 2553 งานระบาดวิทยา งานระบาดวิทยา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองลำปาง.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2558 เดือน พฤศจิกายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน สิงหาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน เมษายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
แผนภูมิแสดงแผนและผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2549 การใช้ จ่าย ( สะสม ) ต.ค.ต.ค. พ.ย.พ.ย. ธ.ค.ธ.ค. ม.ค.ม.ค. ก.พ.ก.พ. มี. ค. เม. ย. พ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค. ก.ค.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กุมภาพันธ์ 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเฝ้าระวังโรคปอดบวมในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจในหอผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส 41460353 นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส 41460411 นสพ. สุภาพร จีนอนันต์ รหัส 41460528

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอัตราการเกิดโรคปอดบวมในกลุ่มผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ในหอผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก เปรียบเทียบอัตราการเกิดโรคปอดบวมระหว่างหอผู้ป่วยหนักในแต่ละแผนก ของโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ศึกษาเชื้อที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคปอดบวม ในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ

คำถามการวิจัย คำถามหลัก ศึกษาอุบัติการณ์การเกิดโรคปอดบวมในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ว่าเป็นเท่าไร คำถามรอง กลุ่มอายุใดที่พบว่าเป็นโรคปอดบวมจากการใช้เครื่องช่วยหายใจมากที่สุด หอผู้ป่วยหนักของแผนกใดที่มีผู้ป่วยเป็นโรคปอดบวมจากการใช้เครื่องช่วยหายใจมากที่สุด

คำถามการวิจัย คำถามรอง เชื้อใดที่เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดในผู้ป่วยที่เป็นโรคปอดบวมจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ จำนวนวันที่ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจสัมพันธ์กับอัตราการเกิดโรคปอดบวมอย่างไร

วิธีการวิจัย วิธีการศึกษา Descriptive retrospective study เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา แบบฟอร์มการเ ฝ้าระวัง ของหน่วยป้องกันและความคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก

วิธีการวิจัย Target Population ผู้ป่วยทุกรายที่ใช้เครื่องช่วยหายใจและเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก แผนกอายุรกรรม ,ศัลยกรรมทั่วไป, ศัลยกรรมประสาท, กุมารเวชกรรม (เด็กโต ) และหอผู้ป่วยหนักโรคหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2543 ถึง ตุลาคม 2544

ระเบียบวิธีวิจัย Target Population Inclusion criteria : ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาล และใช้เครื่องช่วยหายใจมากกว่า 48 ชั่วโมง Exclusion criteria : ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาล และใช้เครื่องช่วยหายใจน้อยกว่า 48 ชั่วโมง หรือผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคปอดบวมก่อนการใส่เครื่องช่วยหายใจ

วิธีการวิจัย Definition pneumonia Fever Leukocytosis Purulent tracheobronchial secretion Radiographic appearance of new or progressive infiltration Sputum culture positive หมายเหตุ : ทั้ง 5 ข้อนี้ต้องเกิดหลังจากใส่เครื่องช่วยหายใจไปแล้ว 48 ชั่วโมง

ตารางเก็บข้อมูล HN Sex AGE การวินิจฉัย วันที่เริ่มใส่เครื่อง วันที่มีอาการ วันที่พบเชื้อ Pathogen ช่วยหายใจ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

ตารางแสดงการเกิด Pneumonia จำแนกตามWard WARD( ICU ) จำนวนผู้ป่วยที่ใส่ จำนวนผู้ป่วยที่เป็น ร้อยละ เครื่องช่วยหายใจ Pneumonia อายุรกรรม: ICU 1 332 31 9.34 ICU 2 324 25 7.72 ICU 3 381 4 1.05 CCU 18 9 50.00 ศัลยกรรมทั่วไป 359 25 6.96 ศัลยกรรมประสาท 254 29 11.42 กุมารเวชกรรม 86 9 10.47 รวม 1736 132 7.60

ตารางแสดงการเกิด Pneumonia จำแนกตามอายุ อายุของผู้ป่วย จำนวนผู้ป่วยที่ใส่ อัตราร้อยละที่พบ เชื้อที่พบในแต่ละกลุ่มอายุ เครื่องช่วยหายใจ ผู้ป่วย Pneumonia < 10 ปี 101 6.93 - 10-19 116 6.03 Ps.aeruginosa 20-29 77 7.79 Mixed 30-39 115 7.83 Mixed/S.aureus 40-49 221 5.88 Ac.baumanii/Mixed 50-59 12 6.06 Ac.baumanii/Ps.aeruginosa > = 60 ปี 727 9.63 Ac.baumanii/ Ps.aeruginosa ไม่ทราบอายุ 180 4.44 Ac.baumanii/ Ps.aeruginosa

ตารางแสดงชนิดของเชื้อที่เป็นสาเหตุของ Pneumonia ชนิดของเชื้อที่พบ ความถี่ ร้อยละ Acinetobactor baumannii 44 33.33 Pseudomonas aeruginosa 34 25.76 Klebsiella pneumoniae 10 7.56 Staphylococcus aureus 11 8.33 Sternotrophomonas . Spp 6 4.54 Mixed 22 16.66 อื่น ๆ 3 2.28

ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนวันที่ใส่เครื่องช่วยหายใจกับอัตราการเกิด Pneumonia จำนวนวันที่ผู้ป่วย Non- Pneumonia ร้อยละ Relative risk ใส่เครื่องช่วยหายใจ pneumonia 2 -4 541 41 7.0 1.0 5 - 7 331 36 9.8 1.4 ( 0.91<rr<2.14) 8 - 10 239 20 7.7 1.1 ( 0.05<rr<0.13) > 10 493 35 6.6 0.94 ( 0.61<rr<1.45)

สรุป อุบัติการณ์การเกิดโรคปอดบวมคิดเป็นร้อยละ 7.60 ของผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจนานกว่า 48 ชั่วโมง หอผู้ป่วยหนักโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นแผนกที่มีอัตราการเกิดโรคปอดบวมสูงที่สุด กลุ่มอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปพบว่ามีอัตราการเกิดโรคปอดบวมสูงสุด เชื้อที่เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดคือ Acinetobactor baumanii

เอกสารอ้างอิง นลินี อัศวโภคีและคณะ , ประสบการณ์ด้านโรคติดเชื้อในประเทศไทย , สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย , พิมพ์ครั้งที่ 2 , 2537 : 134 - 135 สมพร สันติประสิทธิกุล,ชมรมควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแห่งประเทศไทย(2543),กันยายน-ธันวาคม 2543, ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 ( จุลสาร) สมพร สันติประสิทธิกุล,ชมรมควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแห่งประเทศไทย(2544),มกราคม-เมษายน 2544,ปีที่ 11 ฉบับที่ 1(จุลสาร) Chirstopher E. Hayner . MD . Robert P . Baughman . MD , University of Cincinati Medical Center , Nosocomial pneumonia : A Review of Diagnostic Approaches. Fraser and Pare ‘s , Diagnosis Of diseases of chest . Volume II . Fourth Edition , 1999 : 723 - 724

THE END