การเฝ้าระวังโรคปอดบวมในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจในหอผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส 41460353 นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส 41460411 นสพ. สุภาพร จีนอนันต์ รหัส 41460528
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอัตราการเกิดโรคปอดบวมในกลุ่มผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ในหอผู้ป่วยหนักโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก เปรียบเทียบอัตราการเกิดโรคปอดบวมระหว่างหอผู้ป่วยหนักในแต่ละแผนก ของโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ศึกษาเชื้อที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคปอดบวม ในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
คำถามการวิจัย คำถามหลัก ศึกษาอุบัติการณ์การเกิดโรคปอดบวมในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ว่าเป็นเท่าไร คำถามรอง กลุ่มอายุใดที่พบว่าเป็นโรคปอดบวมจากการใช้เครื่องช่วยหายใจมากที่สุด หอผู้ป่วยหนักของแผนกใดที่มีผู้ป่วยเป็นโรคปอดบวมจากการใช้เครื่องช่วยหายใจมากที่สุด
คำถามการวิจัย คำถามรอง เชื้อใดที่เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดในผู้ป่วยที่เป็นโรคปอดบวมจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ จำนวนวันที่ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจสัมพันธ์กับอัตราการเกิดโรคปอดบวมอย่างไร
วิธีการวิจัย วิธีการศึกษา Descriptive retrospective study เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา แบบฟอร์มการเ ฝ้าระวัง ของหน่วยป้องกันและความคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
วิธีการวิจัย Target Population ผู้ป่วยทุกรายที่ใช้เครื่องช่วยหายใจและเข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนัก แผนกอายุรกรรม ,ศัลยกรรมทั่วไป, ศัลยกรรมประสาท, กุมารเวชกรรม (เด็กโต ) และหอผู้ป่วยหนักโรคหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2543 ถึง ตุลาคม 2544
ระเบียบวิธีวิจัย Target Population Inclusion criteria : ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาล และใช้เครื่องช่วยหายใจมากกว่า 48 ชั่วโมง Exclusion criteria : ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาล และใช้เครื่องช่วยหายใจน้อยกว่า 48 ชั่วโมง หรือผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคปอดบวมก่อนการใส่เครื่องช่วยหายใจ
วิธีการวิจัย Definition pneumonia Fever Leukocytosis Purulent tracheobronchial secretion Radiographic appearance of new or progressive infiltration Sputum culture positive หมายเหตุ : ทั้ง 5 ข้อนี้ต้องเกิดหลังจากใส่เครื่องช่วยหายใจไปแล้ว 48 ชั่วโมง
ตารางเก็บข้อมูล HN Sex AGE การวินิจฉัย วันที่เริ่มใส่เครื่อง วันที่มีอาการ วันที่พบเชื้อ Pathogen ช่วยหายใจ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ตารางแสดงการเกิด Pneumonia จำแนกตามWard WARD( ICU ) จำนวนผู้ป่วยที่ใส่ จำนวนผู้ป่วยที่เป็น ร้อยละ เครื่องช่วยหายใจ Pneumonia อายุรกรรม: ICU 1 332 31 9.34 ICU 2 324 25 7.72 ICU 3 381 4 1.05 CCU 18 9 50.00 ศัลยกรรมทั่วไป 359 25 6.96 ศัลยกรรมประสาท 254 29 11.42 กุมารเวชกรรม 86 9 10.47 รวม 1736 132 7.60
ตารางแสดงการเกิด Pneumonia จำแนกตามอายุ อายุของผู้ป่วย จำนวนผู้ป่วยที่ใส่ อัตราร้อยละที่พบ เชื้อที่พบในแต่ละกลุ่มอายุ เครื่องช่วยหายใจ ผู้ป่วย Pneumonia < 10 ปี 101 6.93 - 10-19 116 6.03 Ps.aeruginosa 20-29 77 7.79 Mixed 30-39 115 7.83 Mixed/S.aureus 40-49 221 5.88 Ac.baumanii/Mixed 50-59 12 6.06 Ac.baumanii/Ps.aeruginosa > = 60 ปี 727 9.63 Ac.baumanii/ Ps.aeruginosa ไม่ทราบอายุ 180 4.44 Ac.baumanii/ Ps.aeruginosa
ตารางแสดงชนิดของเชื้อที่เป็นสาเหตุของ Pneumonia ชนิดของเชื้อที่พบ ความถี่ ร้อยละ Acinetobactor baumannii 44 33.33 Pseudomonas aeruginosa 34 25.76 Klebsiella pneumoniae 10 7.56 Staphylococcus aureus 11 8.33 Sternotrophomonas . Spp 6 4.54 Mixed 22 16.66 อื่น ๆ 3 2.28
ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนวันที่ใส่เครื่องช่วยหายใจกับอัตราการเกิด Pneumonia จำนวนวันที่ผู้ป่วย Non- Pneumonia ร้อยละ Relative risk ใส่เครื่องช่วยหายใจ pneumonia 2 -4 541 41 7.0 1.0 5 - 7 331 36 9.8 1.4 ( 0.91<rr<2.14) 8 - 10 239 20 7.7 1.1 ( 0.05<rr<0.13) > 10 493 35 6.6 0.94 ( 0.61<rr<1.45)
สรุป อุบัติการณ์การเกิดโรคปอดบวมคิดเป็นร้อยละ 7.60 ของผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจนานกว่า 48 ชั่วโมง หอผู้ป่วยหนักโรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นแผนกที่มีอัตราการเกิดโรคปอดบวมสูงที่สุด กลุ่มอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปพบว่ามีอัตราการเกิดโรคปอดบวมสูงสุด เชื้อที่เป็นสาเหตุที่พบมากที่สุดคือ Acinetobactor baumanii
เอกสารอ้างอิง นลินี อัศวโภคีและคณะ , ประสบการณ์ด้านโรคติดเชื้อในประเทศไทย , สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย , พิมพ์ครั้งที่ 2 , 2537 : 134 - 135 สมพร สันติประสิทธิกุล,ชมรมควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแห่งประเทศไทย(2543),กันยายน-ธันวาคม 2543, ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 ( จุลสาร) สมพร สันติประสิทธิกุล,ชมรมควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลแห่งประเทศไทย(2544),มกราคม-เมษายน 2544,ปีที่ 11 ฉบับที่ 1(จุลสาร) Chirstopher E. Hayner . MD . Robert P . Baughman . MD , University of Cincinati Medical Center , Nosocomial pneumonia : A Review of Diagnostic Approaches. Fraser and Pare ‘s , Diagnosis Of diseases of chest . Volume II . Fourth Edition , 1999 : 723 - 724
THE END