การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค่าของทุน The Cost of Capital
Advertisements

สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
การวิเคราะห์งบการเงิน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 8 โครงสร้างเงินทุน
ความสำคัญของการบริหารการเงิน
ศันสนีย์ เทพปัญญา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
การจัดการเงินทุนหมุนเวียน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า เงินสด+หลักทรัพย์+ลูกหนี้
บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน(บบส
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การบัญชีวิสาหกิจชุมชน
การวางแผน ธุรกิจ เป็นกระบวนการ บริหารจัดการทาง การเงินที่สำคัญของ คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน.
งบประมาณ และ กลยุทธ์ทางด้านการเงิน ธนชัย ผู้พัฒน์
Statement of Cash Flows
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
หัวข้อวิจัย “การประเมินประสิทธิภาพในการบริหารงานของวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล ระยะเวลา 12 ปี นับแต่เริ่มออกนอกระบบ” THE APPRAISALS OF MANAGEMENT.
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะสั้นและระยะปานกลาง Short- Term and Intermediate-Term Financing.
บทที่ 1 เป้าหมายและหน้าที่ในการบริหารการเงินเบื้องต้น.
บทที่ 4 งบการเงิน.
ระบบบัญชีเดี่ยว.
สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน
กลุ่มที่ 1 การส่งเสริมสหกรณ์ให้ผ่านเกณฑ์ข้อ 1
งบลงทุน Capital Budgeting
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
Financial Management.
บทบาทของการบริหารการเงิน (The Role Financial Management)
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
สหกรณ์การเกษตรคงสามัคคี จำกัด จ. นครราชสีมา
Cooperative Financial Surveillance and Warning System : set standard
ผลกระทบการประกอบธุรกิจ เกี่ยวกับเครื่องสำอางในสภาวะ เศรษฐกิจตกต่ำ พรชาย พิริยบรรเจิด ผู้จัดการทั่วไป บมจ. แพน ราชเทวี กรุ๊ป 24 สิงหาคม พ. ศ
โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 25 มิถุนายน 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มีนาคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 สิงหาคม 2551.
การบริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2551 รพ. บ้านลาด ณ 31 มกราคม 2551.
การวิเคราะห์สถานการณ์การเงินการคลัง
การ บริหารประสิทธิภาพ ด้านการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2552 รพ. บ้านลาด ณ 30 เมษายน 2552.
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
การวิเคราะห์ทางการเงิน (Financial Analysis)
บทที่ 2 การจัดหาเงินทุน (Financing)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
บทที่ 12 นโยบายเงินปันผล ( Dividend Policy )
เปรียบเทียบดัชนีชี้วัด ปีงบประมาณ
สินค้าคงเหลือ.
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
การจัดทำแผนธุรกิจ.
โครงสร้างของเงินทุนและการใช้ Leverage
เทคนิคการจำแนกหมวดบัญชี
Chapter 11 ต้นทุนของเงินทุน
การบริหารและลดความเสี่ยงด้านการเงิน
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE BY MANATSADA

1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการเงิน ความสำคัญของการบริหารการเงิน - การดำเนินธุรกิจจำเป็นต้องใช้เงินในการดำเนินงาน ดังนั้นจึงเป็นภารกิจที่สำคัญอย่างยิ่งของผู้บริหารองค์กรในการบริหารการเงิน เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนธุรกิจได้อย่างคล่องตัว ไม่เกินภาวะวิกฤติทางการเงิน อันจะส่งผลเสียต่อการเติบโตทางธุรกิจ

กำไรสูงสุดกับความมั่งคั่งสูงสุด กำไรสูงสุด-คือ เป้าหมายของธุรกิจ โดยคำนึงถึงกำไรรวมที่ธุรกิจสามารถหามาได้สูงสุด โดยการบริหารทรัพยากร เพื่อก่อให้เกิดค่าทางเศรษฐกิจสูงสุด ความมั่งคั่งสูงสุด- คือ การให้ความสำคัญถึงความมั่งคั่งของผู้เป็นเจ้าของกิจการ ซึ่งจะเป็นเป้าหมายที่กว้างกว่ากำไรสูงสุด

หน้าที่ของผู้จัดการทางการเงิน 1.การวางแผนทางการเงิน 2.การจัดหาเงินทุน 3.การจัดสรรการใช้เงิน 4.การควบคุม

2.การวิเคราะห์ทางการเงิน การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน สามารถเปรียบเทียบได้ 2 ลักษณะ คือ การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการดำเนินงานภายในธุรกิจของตนเองในอดีตและปัจจุบัน การวิเคราะห์เปรียบเทียบกับธุรกิจอื่นที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน

ประเภทของอัตราส่วนทางการเงิน 1.อัตราส่วนที่แสดงถึงสภาพคล่อง(Liquidity Ratios) 2.อัตราส่วนที่วัดสภาพหนี้สิน(Debt or Leverage Ratios) 3.อัตราส่วนที่แสดงสมรรถภาพในการทำกำไร(Profitability Ratios) 4.อัตราส่วนที่แสดงสมรรถภาพในการดำเนินงาน (Efficiency or Ratios)

1.อัตราส่วนที่แสดงถึงสภาพคล่อง 1.1 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน Current Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน (เท่า) หนี้สินหมุนเวียน 1.2 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็วหรืออัตราส่วนทุนหมุนเวียน อย่างถึงแก่น Quick Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า-ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า

อัตราส่วนที่แสดงถึงสภาพคล่อง 1.3 สภาพคล่องของลูกหนี้ 1.3.1 อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ = ขายเชื่อ (รอบ) ลูกหนี้ 1.3.2 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ = ลูกหนี้ (วัน) ค่าขายเฉลี่ยต่อวัน

อัตราส่วนที่แสดงถึงสภาพคล่อง 1.3.3 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้(ต่อ) = ลูกหนี้ ยอดขาย/360 = ลูกหนี้x360 (วัน) ยอดขาย

อัตราส่วนที่แสดงถึงสภาพคล่อง 1.4 อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง = ต้นทุนสินค้าขาย (รอบ) สินค้าคงคลังโดยเฉลี่ย

2.อัตราส่วนวัดสภาพหนี้สิน 2.1 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น = หนี้สินรวม (%) ส่วนของผู้ถือหุ้น 2.2 อัตราส่วนหนี้สินระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว = หนี้สินระยะยาว (%) เงินทุนระยะยาว

2.อัตราส่วนวัดสภาพหนี้สิน 2.3 อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์รวม = หนี้สินรวม (%) สินทรัพย์รวม 2.4 ความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย = กำไรจากการดำเนินงาน ดอกเบี้ยจ่าย = กำไรก่อนภาษีและดอกเบี้ย (เท่า)

2.อัตราส่วนวัดสภาพหนี้สิน 2.5 อัตราส่วนแสดงความสามารถในการจ่ายค่าใช้จ่ายประจำ = กำไรก่อนหักภาษีและดอกเบี้ย (เท่า) ดอกเบี้ย+เงินต้น+เงินปันผล+เงินกองทุนจม (1- อัตราภาษีเงินได้)

3.อัตราส่วนที่แสดงสมรรถภาพในการทำกำไร 3.1 อัตราส่วนกำไรเบื้องต้นต่อยอดขาย = กำไรเบื้องต้น (เท่า) ยอดขาย 3.2 อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อยอดขาย = กำไรสุทธิ (เท่า)

3.อัตราส่วนที่แสดงสมรรถภาพในการทำกำไร 3.3 อัตราผลตอบแทนของส่วนผู้ถือหุ้น = กำไรส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ (เท่า) ส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ 3.2 อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน = กำไรสุทธิหลังภาษี (เท่า) สินทรัพย์ที่มีตัวตน

4.อัตราส่วนที่แสดงสมรรถภาพในการดำเนินงาน 4.1 อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ประจำ = ค่าขายสุทธิ (เท่า) สินทรัพย์ประจำสุทธิโดยเฉลี่ย 3.2 อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม สินทรัพย์รวมโดยเฉลี่ย