การเงินธุรกิจ BUSINESS FINANCE BY MANATSADA
1.ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการเงิน ความสำคัญของการบริหารการเงิน - การดำเนินธุรกิจจำเป็นต้องใช้เงินในการดำเนินงาน ดังนั้นจึงเป็นภารกิจที่สำคัญอย่างยิ่งของผู้บริหารองค์กรในการบริหารการเงิน เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนธุรกิจได้อย่างคล่องตัว ไม่เกินภาวะวิกฤติทางการเงิน อันจะส่งผลเสียต่อการเติบโตทางธุรกิจ
กำไรสูงสุดกับความมั่งคั่งสูงสุด กำไรสูงสุด-คือ เป้าหมายของธุรกิจ โดยคำนึงถึงกำไรรวมที่ธุรกิจสามารถหามาได้สูงสุด โดยการบริหารทรัพยากร เพื่อก่อให้เกิดค่าทางเศรษฐกิจสูงสุด ความมั่งคั่งสูงสุด- คือ การให้ความสำคัญถึงความมั่งคั่งของผู้เป็นเจ้าของกิจการ ซึ่งจะเป็นเป้าหมายที่กว้างกว่ากำไรสูงสุด
หน้าที่ของผู้จัดการทางการเงิน 1.การวางแผนทางการเงิน 2.การจัดหาเงินทุน 3.การจัดสรรการใช้เงิน 4.การควบคุม
2.การวิเคราะห์ทางการเงิน การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน สามารถเปรียบเทียบได้ 2 ลักษณะ คือ การวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการดำเนินงานภายในธุรกิจของตนเองในอดีตและปัจจุบัน การวิเคราะห์เปรียบเทียบกับธุรกิจอื่นที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกัน
ประเภทของอัตราส่วนทางการเงิน 1.อัตราส่วนที่แสดงถึงสภาพคล่อง(Liquidity Ratios) 2.อัตราส่วนที่วัดสภาพหนี้สิน(Debt or Leverage Ratios) 3.อัตราส่วนที่แสดงสมรรถภาพในการทำกำไร(Profitability Ratios) 4.อัตราส่วนที่แสดงสมรรถภาพในการดำเนินงาน (Efficiency or Ratios)
1.อัตราส่วนที่แสดงถึงสภาพคล่อง 1.1 อัตราส่วนทุนหมุนเวียน Current Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน (เท่า) หนี้สินหมุนเวียน 1.2 อัตราส่วนทุนหมุนเวียนเร็วหรืออัตราส่วนทุนหมุนเวียน อย่างถึงแก่น Quick Ratio = สินทรัพย์หมุนเวียน-สินค้า-ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า
อัตราส่วนที่แสดงถึงสภาพคล่อง 1.3 สภาพคล่องของลูกหนี้ 1.3.1 อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ = ขายเชื่อ (รอบ) ลูกหนี้ 1.3.2 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้ = ลูกหนี้ (วัน) ค่าขายเฉลี่ยต่อวัน
อัตราส่วนที่แสดงถึงสภาพคล่อง 1.3.3 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเก็บหนี้(ต่อ) = ลูกหนี้ ยอดขาย/360 = ลูกหนี้x360 (วัน) ยอดขาย
อัตราส่วนที่แสดงถึงสภาพคล่อง 1.4 อัตราการหมุนเวียนของสินค้าคงคลัง = ต้นทุนสินค้าขาย (รอบ) สินค้าคงคลังโดยเฉลี่ย
2.อัตราส่วนวัดสภาพหนี้สิน 2.1 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น = หนี้สินรวม (%) ส่วนของผู้ถือหุ้น 2.2 อัตราส่วนหนี้สินระยะยาวต่อเงินทุนระยะยาว = หนี้สินระยะยาว (%) เงินทุนระยะยาว
2.อัตราส่วนวัดสภาพหนี้สิน 2.3 อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์รวม = หนี้สินรวม (%) สินทรัพย์รวม 2.4 ความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย = กำไรจากการดำเนินงาน ดอกเบี้ยจ่าย = กำไรก่อนภาษีและดอกเบี้ย (เท่า)
2.อัตราส่วนวัดสภาพหนี้สิน 2.5 อัตราส่วนแสดงความสามารถในการจ่ายค่าใช้จ่ายประจำ = กำไรก่อนหักภาษีและดอกเบี้ย (เท่า) ดอกเบี้ย+เงินต้น+เงินปันผล+เงินกองทุนจม (1- อัตราภาษีเงินได้)
3.อัตราส่วนที่แสดงสมรรถภาพในการทำกำไร 3.1 อัตราส่วนกำไรเบื้องต้นต่อยอดขาย = กำไรเบื้องต้น (เท่า) ยอดขาย 3.2 อัตราส่วนกำไรสุทธิต่อยอดขาย = กำไรสุทธิ (เท่า)
3.อัตราส่วนที่แสดงสมรรถภาพในการทำกำไร 3.3 อัตราผลตอบแทนของส่วนผู้ถือหุ้น = กำไรส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ (เท่า) ส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ 3.2 อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน = กำไรสุทธิหลังภาษี (เท่า) สินทรัพย์ที่มีตัวตน
4.อัตราส่วนที่แสดงสมรรถภาพในการดำเนินงาน 4.1 อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์ประจำ = ค่าขายสุทธิ (เท่า) สินทรัพย์ประจำสุทธิโดยเฉลี่ย 3.2 อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม สินทรัพย์รวมโดยเฉลี่ย