GHS แนวคิดและวิธีการปฏิบัติ ตามระบบการจัดกลุ่มความเป็นอันตราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ที่ โรงเรียน เฉลี่ย 1 บ้านหนองหว้า บ้านสะเดาหวาน
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
วิชาเศรษฐศาสตร์ รศ.ดร. ชวินทร์ ลีนะบรรจง.
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
สำเร็จการศึกษาในเวลา 4 ปี
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ประกาศกรมการขนส่งทางบก
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การเฝ้าระวัง การสอบสวน และผลกระทบ เนื่องจากสารเคมีอันตราย
กรอบความร่วมมือด้านผลิตภัณฑ์อาหารสำเร็จรูป
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การประเมินความเสี่ยงใน ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การประชุมกลุ่มย่อย Agriculture Sector. ประเด็นเพื่อระดมสมอง 1. หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง กับการนำ GHS ไปปฏิบัติ กรมวิชาการเกษตร กรมประมง กรมปศุสัตว์
การประชุมกลุ่มย่อยเรื่อง ด้วย การพัฒนาศักยภาพ ของภาคประชาชน / แรงงาน / ผู้บริโภค ในการสนับสนุนให้นำ GHS ไป ปฏิบัติ ประธาน : ผศ. สำลี ใจดี เลขานุการกลุ่ม.
ผลการประชุมกลุ่มย่อย เรื่อง Sectoral GHS Implementation Strategies and Development of related Legislation and Plan กลุ่มที่ 1 : Industrial Chemical sector.
ปีงบประมาณ พ. ศ ( ตุลาคม สิงหาคม 2546 )
โครงการพัฒนามาตรฐานการจัดทำฉลากเคมีภัณฑ์
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
RODENTICIDE Veerakit Techakitiroj M.Sc. in Pharm. (Pharmacology)
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับผู้มีอิทธิพล
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การระดมความ คิดเห็น ภาคประชาชน แรงงาน และ ผู้บริโภค.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ภาพรวมเศรษฐกิจไทยล่าสุด (ณ เดือนตุลาคม) และแนวโน้มไตรมาส 3/50 และ 4/50
การประเมินความเสี่ยงและการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านเครื่องสำอาง โดย เภสัชกรหญิงวีรวรรณ แตงแก้ว ผู้อำนวยการกองควบคุมเครื่องสำอาง.
คบส Powerpoint by Mr.Prachasan Saenpakdee M.P.H.
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
Globally Harmonized System : GHS
เป็นการดำเนินงานด้วยวิธีทางวิศวกรรมและบริหารจัดการที่จะวิเคราะห์ว่ามี
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
กราฟเบื้องต้น.
"ประกาศกรมการขนส่งทางบกเรื่อง กำหนดประเภทหรือชนิดและลักษณะการบรรทุกวัตถุอันตรายที่ผู้ขับรถต้องได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ขับรถ ชนิดที่ 4 พ.ศ. 2553" ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
กราฟเบื้องต้น.
รายงานความก้าวหน้าการตรวจติดตามประเมิน
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำรายงานการประเมินความเสี่ยงในคลังน้ำมัน พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 ตุลาคม 2557.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ความเชื่อมั่น ความดูดีในอีก ระดับ ความเป็นผู้นำ ความแตกต่างที่ เป็นจุดเด่น การบ่งบอกถึง คุณภาพ.
Environmental Monitoring for Pesticide Exposure
ใบสำเนางานนำเสนอ:

GHS แนวคิดและวิธีการปฏิบัติ ตามระบบการจัดกลุ่มความเป็นอันตราย และการติดฉลากสารเคมีแบบสหประชาชาติ วันพฤหัสบดีที่ 27 มีนาคม 2551 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพ ฯ โดย สุพร สาครอรุณ กรมโรงงานอุตสาหกรรม

หัวเรื่องการอภิปราย - GHS คือ อะไร - แนวคิด/หลักการของ GHS - จุดมุ่งหมายของ GHS - วิธีการปฏิบัติให้เป็นไปตาม GHS

GHS คืออะไร ? Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals เป็นระบบ /วิธีการ (Approach) สำหรับ - การจำแนกความเป็นอันตรายของสารเคมี (Chemical Hazard Classification) - การสื่อสารความเป็นอันตรายของสารเคมี (Chemical Hazard Communication)

ขอบข่ายของ GHS ประกอบด้วย 1. เกณฑ์การจำแนกความเป็นอันตราย -ความเป็นอันตรายทางกายภาพ (Physical Hazard) - ความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ (Health Hazard) - ความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental Hazard) โดยจำแนกออกเป็น - ประเภท (Class) พิจารณาตามความเป็นอันตราย (กายภาพ สุขภาพ สิ่งแวดล้อม) - ประเภทย่อย (Division /Category /Type) พิจารณาตามระดับความความรุนแรงของความเป็นอันตราย Ex. Acrylic acid จำแนกความเป็นอันตรายทางกายภาพเป็น ประเภทของเหลวไวไฟ ประเภทย่อย 3

ขอบข่ายของ GHS ประกอบด้วย 2. องค์ประกอบในการสื่อสารความเป็นอันตราย - ฉลาก (Labels) รูปสัญลักษณ์ (Pictograms) คำสัญญาน (A signal word) ข้อความแสดงความเป็นอันตราย (Hazard Statements) ข้อความแสดงข้อควรระวัง (Precautionary statements) ตัวบ่งชี้ผลิตภัณฑ์ (Product identifier) การบ่งชี้ผู้จัดจำหน่าย (Supplier identification) ข้อมูลอื่น ๆ (Any other additional information) - เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheets-SDS)

(dilute solutions) และสารผสม (mixtures) การนำ GHS ไปใช้ 1. ครอบคลุมสารเคมีอันตรายทุกชนิด สารละลายเจือจาง (dilute solutions) และสารผสม (mixtures) ไม่รวม Articles ตาม OSH Standards for General Industry (29 CFR PART 1910 1200- Hazard Communication) 2. ไม่ครอบคลุมผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม (ยารักษาโรค) สารปรุงแต่งอาหาร (food additives) เครื่องสำอาง และสารป้องกันและกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้าง อยู่ในอาหาร (pesticide residues in food)

(d) Hazard determination เป็นหน้าที่ ผู้ผลิต ผู้นำเข้า และนายจ้าง

การนำ GHS ไปใช้ 3. กลุ่มเป้าหมาย Workplace - labels and SDS (including pesticides and pharmaceuticals) Consumers - labels Transport - labels, placards, transport document (UN Recommendation on the Transport of Dangerous Goods) Emergency responders - labels, placards

Workplace - labels and SDS

UN Markings ADR Marking

ข้อจำกัดของการนำ GHS ไปใช้ ไม่ใช่การประเมินความเสี่ยงสารเคมีและไม่ใช้ในการตัดสินใจสำหรับการบริหารความเสี่ยง การจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายนี้ ประเมิน จากความเป็นอันตรายตามคุณสมบัติของสารเคมีโดยตรง ต้องเข้าใจความหมายของ อันตราย และความเสี่ยง ความเสี่ยง = อันตราย x การได้รับสัมผัส 3. การสื่อสารความเป็นอันตราย ต้องเตือนให้ผู้เกี่ยวข้อง ลดการรับสัมผัสสารเคมี เพราะทำให้ความเสี่ยงจากอันตรายของสารเคมีลดลง 4. การสื่อสารความเป็นอันตรายต้องบอกทั้ง อันตราย และความเสี่ยง (แต่ GHS บอกเฉพาะอันตรายของสารเคมี)

แนวคิด/หลักการของ GHS แต่ละประเทศมีระบบการจำแนกความเป็นอันตราย และการ ติดฉลากของสารเคมีต่างกัน ในประเทศเดียวกันก็มีระบบการจำแนกความเป็นอันตรายและ การติดฉลากของสารเคมีต่างกัน (ตามข้อกฎหมาย) เป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการ ความยุ่งยากสับสนในการปฏิบัติและบังคับตามกฎหมาย สื่อสารให้้ทราบถึงอันตรายได้ถูกต้อง

แนวคิด/หลักการของ GHS ปี ค.ศ. 1992 (พ.ศ.2535) สหประชาชาติได้ประชุมสมาชิกจาก 150 ประเทศ ณ กรุงริโอ เดอ จานาโร ประเทศบราซิล ในประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา (United Nation Conference for Environment and Development – UNCED or The Earth Summit) เพื่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน UNCED จึงได้กำหนดแผนปฏิบัติการ 21 ( Agenda 21) เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน ของภาคส่วน ต่างๆ ในสังคม ประเทศต่าง ๆ และองค์กรสหประชาชาติได้ตระหนักถึง มหันตภัย และอันตรายที่เกิดจากสารเคมี มาตรการและข้อกำหนดเพื่อให้เกิดการบริหารจัดการสารเคมีอย่างเป็นระบบ

การบริหารจัดการสารเคมีตามแผนปฏิบัติการ 21 A การขยายผลและเร่งรัดการประเมินความเสี่ยง สารเคมีในระดับนานาชาติ B การปรับระบบการจำแนกประเภทและการติดฉลาก สารเคมีให้เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก C การแลกเปลี่ยนข้อมูลสารพิษและการประเมิน ความเสี่ยงสารเคมี D การจัดทำแผนงานและโครงการเพื่อลดความเสี่ยง จากการใช้สารเคมี E การเสริมสร้างความเข้มแข้งแก่ขีดความสามารถ และศักยภาพของประเทศในการบริหารจัดการ สารเคมี F การป้องกันการขนย้ายผลิตภัณฑ์อันตรายระหว่าง ประเทศอย่างผิดกฎหมาย

The Earth Summit ถือเป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาระบบการจำแนกประเภทและติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบเดียวกัน (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals – GHS) ด้วยเหตุผลที่ว่า การจำแนกประเภทและติดฉลากสารเคมีมีความหลากหลาย จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาให้เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก

การพัฒนาระบบ GHS ทางด้านวิชาการได้จัดทำเป็น คู่มือในการจำแนกประเภทสารเคมี การสื่อสารความเป็นอันตรายจากสารเคมีด้วยฉลากสารเคมีและข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี (UN Purple Book) เพื่อเป็นหลักการเบื้องต้นในการนำไปปฏิบัติเพื่อให้การจำแนกประเภทและติดฉลากสารเคมีเป็นระบบเดียวกันทั่วโลก

The Earth Summit ถือเป็นจุดเริ่มต้นในการพัฒนาระบบการจำแนกประเภทและติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบเดียวกัน (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals – GHS) ด้วยเหตุผลที่ว่า การจำแนกประเภทและติดฉลากสารเคมีมีความหลากหลาย จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาให้เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก

UN Purple Book ILO จัดทำเกณฑ์การสื่อสารความเป็นอันตราย (Hazard Communication) - OECD จัดทำเกณฑ์การพิจารณาความเป็นอันตรายจากสารเคมีด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม - UNCETDG จัดทำเกณฑ์การพิจารณาความเป็นอันตรายจากสารเคมีด้านกายภาพและเคมี - IOMC จัดทำแนวทางสำหรับกระบวนการจำแนกประเภทสารเคมีในหลักการเดียวกัน โดยกลุ่มผู้ประสานงาน Coordinating Group for the Harmonization of Chemical Classification system (CG/HCCS)

ILO = International Labor Organization OECD = Organization for Economic Co-operation and Development UNCETDG = United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods IOMC =Inter-organization Program for the Sound Management of Chemicals UNITAR= United Nations Institute for Training and Research IFCS= Intergovernmental Forum on Chemical Safety

วัตถุประสงค์ของGHS - เพื่อปกป้องสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อมจากสารเคมี โดยการสื่อสารความเป็นอันตรายด้วยฉลากและข้อมูลความปลอดภัยสารเคมี - เป็นแนวทางสำหรับประเทศที่ไม่มีระบบการจำแนกประเภทและติดฉลากสารเคมี - ลดการทดสอบและประเมินสารเคมี - เพื่ออำนวยให้การค้าสารเคมีระหว่างประเทศด้วยการประเมินและระบุความเป็นอันตรายภายใต้หลักเกณฑ์เดียวกัน

ปี ค.ศ. 2002 (พ.ศ.2545) การประชุมของสหประชาชาติ World Summit on Sustainable Development (WSSD) ณ กรุงโจฮันเนสเบิร์ก นานาชาติได้มีข้อตกลงร่วมกันให้ทุกประเทศ นำระบบ GHS ไปปฏิบัติให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ เพื่อให้ระบบ GHS มีผลในการปฏิบัติภายในปี ค.ศ. 2008 (พ.ศ.2551)

การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจของ Asia Pacific conomy ooperation (APEC) (ตุลาคม 2002) มติที่ประชุมขอให้สมาชิก APEC มุ่งทำงานเพื่อนำระบบ GHS มาปฏิบัติให้ได้ภายในปี ค.ศ. 2006 (พ.ศ.2549) โดยใช้กระบวน Capacity building ในการทำงานให้สัมฤทธิ์ผล การประชุมความร่วมมือระหว่างรัฐบาลว่าด้วยความปลอดภัยสารเคมี ครั้งที่ 4 (Intergovernmental Forum on Chemicals Safety- IFCS) ปี ค.ศ. 2003 (พ.ศ.2546) ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร ได้มีมติให้ประเทศสมาชิกนำระบบ GHS มาใช้ภายในปี ค.ศ.2008 (พ.ศ.2551)

แนวคิด/หลักการของ GHS 1. ระดับการปกป้องสุขภาพและสิ่งแวดล้อมจะต้องไม่ลดลงจากระบบเดิม 2. จำแนกประเภทความเป็นอันตรายบนพื้นฐานของคุณสมบัติที่เป็นจริง /ที่เป็นอันตรายของสารเคมี 3. การจำแนกประเภทความเป็นอันตรายต้องใข้อมูลที่ยอมรับและที่เชื่อถือได้ 4. ต้องคำนึงถึงคำนึงถึงการปกป้องความลับทางธุรกิจด้วย (CBI) 5. ต้องเปลี่ยนแปลงระบบเดิมที่มีอยู่ทั้งหมดและดำเนินการให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน 6. ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการกำหนดระบบ GHS 7. คำนึงถึงความสามารถในการทำความเข้าใจเรื่อง (comprehensibility)

Principles of harmonized classification system แนวคิด/หลักการของ GHS Principles of harmonized classification system Based on - the intrinsic properties of chemicals - currently acceptable and available data (No Test Requirements in GHS)

ประเทศไทยได้แสดงเจตจำนงในการนำระบบ GHS มาใช้ ในการประชุม Intergovernmental Forum on Chemicals Safety (IFCS) ครั้งที่ 4 ณ กรุงเทพ ฯ โดยที่กระทรวงสาธารณสุขเป็นเจ้าภาพในคณะผู้แทนประเทศไทย ที่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงเกษตร กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงทรัยพยากรและสิ่งแวดล้อม

กำหนดให้ระบบการสื่อสารความเป็นอันตรายของสารเคมี เป็นมติกลาง กระทรวงอุตสาหกรรม โดบกรมโรงงานอุตสาหกรรม ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการวัตถุอันตราย ได้นำเสนอคณะกรรมการวัตถุอันตราย และมติการประชุมคณะกรรมการวัตถุอันตรายครั้งที่ 18-4/2546 วันที่ 30 ตุลาคม 2546 เห็นชอบให้ดำเนินการเกี่ยวกับ GHS ภายใต้พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 กำหนดให้ระบบการสื่อสารความเป็นอันตรายของสารเคมี เป็นมติกลาง เพื่อให้หน่วยงานออกประกาศกระทรวงของหน่วยงานรับผิดชอบวัตถุอันตรายเพื่อบังคับใช้ตามกฎหมายต่อไป

คณะกรรมการวัตถุอันตราย ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินการในการจัดกลุ่ผลิตภัณฑ์เคมีและการติดฉลาก (Globally Harmonized System : GHS) ฯ ซึ่งประกอบด้วยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการควบคุมกำกับดูแลสารเคมีทั้งในภาคเกษตร อุตสาหกรรม สาธารณสุข และการขนส่ง ภายใต้กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย เพื่อร่วมกันดำเนินการกำหนดหลักเกณฑ์การจำแนกความเป็นอันตราย การจัดทำฉลาก และการจัดทำข้อมูลความปลอดภัยตามระบบ GHS ซึ่งได้จัดทำร่างประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย เรื่อง ระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย พ.ศ. …. เพื่อเป็นมติกลางสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและรับผิดชอบควบคุมกำกับดูแลสารเคมีนำไปประกาศกำหนดการบังคับใช้ต่อไป

ประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย ร่าง ประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย เรื่อง ระบบการจำแนกและการสื่อสารความเป็นอันตรายของวัตถุอันตราย พ.ศ. ….

หน่วยงานหลักภายใต้ พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ. ศ หน่วยงานหลักภายใต้ พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข และกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม รวมทั้งศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กระทรวงคมนาคมได้ดำเนินการดังนี้ (1) การศึกษาเปรียบเทียบระบบการจัดกลุ่มผลิตภัณฑ์เคมีและการติดฉลากปัจจุบันของประเทศไทยกับระบบ GHS

(2) การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจในระบบ GHS โดยการจัดสัมมนา จัดทำแผ่นพับ ลงในวารสาร และลง Website เช่น วารสารโรงงาน Website: diwsafety.org เป็นต้น (3) การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานตามระบบ GHS โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรมยกร่าง เรียบร้อยแล้ว และอยู่ในระหว่างการพิจารณาในคณะอนุกรรมการ GHS (4) การเตรียมความพร้อมด้านกฎหมาย เป็นการดำเนินการภายใต้คณะอนุกรรมการ GHS ซึ่งยกร่าง ประกาศมติคณะกรรมการวัตถุอันตราย เรียบร้อยแล้ว อยู่ในระหว่างการพิจารณาข้อกำหนดแนบท้ายประกาศ ฯ

(5) การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร (6) การเตรียมความพร้อมด้านระบบงานรองรับการบังคับใช้กฎหมาย

จุดมุ่งหมายของ GHS เพื่อปกป้องสุขภาพอนามัยของคน และสิ่งแวดล้อม จากอันตรายของสารเคมี อำนวยความสะดวกในการค้าระหว่างประเทศสำหรับสารเคมีที่ประเมินและจำแนกที่เป็นมาตรฐานระหว่างประเทศอยู่แล้ว ลดความซ้ำซ้อนในการทดสอบและการประเมินความเป็นอันตรายของสารเคมี โดยเฉพาะเรื่อง การใช้สัตว์ทดลอง เป็นแนวทางให้กับประเทศที่ยังไม่มีระบบการจำแนกความเป็นอันตรายและการติดฉลาก

ประโยชน์ของ GHS –ภาพรวม เป็นระบบที่สามารถทำความเข้าใจได้ง่ายในระดับนานาชาติ ยกระดับการป้องกันอันตรายจากสารเคมีที่จะเกิดแก่คนและสิ่งแวดล้อม อำนวยความสะดวกให้กับการค้าสารเคมีระหว่างประเทศ ลดความซ้ำซ้อนในการทดสอบและการประเมินผล ทำให้มีการจัดการสารเคมีที่ดี (sound management of chemicals)

ประโยชน์ของ GHS ต่อภาครัฐ ลดอุบัติเหตุจากสารเคมีที่นำความเดือดร้อนมาสู่ประชาชน ลดค่าใช้จ่ายของรัฐในการดูแลสุขภาพของประชาชน การคุ้มครองป้องกันคนงานและสาธารณชนให้รอดพ้นจากอันตราย ของสารเคมีจะดีขึ้น ลดความความซ้ำซ้อนในการทำงานของส่วนราชการต่าง ๆ (ในการจำแนกประเภท การจัดทำฉลาก และเอกสารข้อมูลความ ปลอดภัยของสารเคมี) ลดค่าใช้จ่ายในการบังคับใช้กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับสารเคมี (costs of enforcement) ภาพพจน์ที่ดีและชื่อเสียงของประเทศในด้านการจัดการสารเคมีที่ดี

ประโยชน์ของ GHS ต่อผู้ผลิต/นายจ้าง สภาพแวดล้อมในการทำงานมีความปลอดภัยมากขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างจะดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎระเบียบว่าด้วยการสื่อสารความเป็นอันตรายของภาครัฐ สะดวกต่อการสื่อสารทางอิเล็กทรอนิกส์กับต่างประเทศ ลดค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลคนงาน เนื่องจากมีอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากสารเคมีน้อยลง ภาพพจน์และความน่าเชื่อถือของบริษัทดีขึ้น

ข้อกำหนด GHS ภาษาไทย

1. การจำแนกความเป็นอันตราย 2. การสื่อสารความเป็นอันตราย สาระสำคัญของระบบ GHS สารเคมี Criteria-based 1. การจำแนกความเป็นอันตราย 2. การสื่อสารความเป็นอันตราย ความเป็นอันตราย ทางกายภาพ (16) ฉลาก ความเป็นอันตราย ต่อสุขภาพ (10) ข้อมูลความปลอดภัย ความเป็นอันตราย ต่อสิ่งแวดล้อม (1)

ความเป็นอันตรายทางกายภาพ (Physical hazards) จำแนกเป็น 16 ประเภท 1. วัตถุระเบิด (Explosives) 2. ก๊าซไวไฟ (Flammable gases) 3. ละอองลอยไวไฟ (Flammable aerosols) 4. ก๊าซออกซิไดส์ (Oxidizing gases) 5. ก๊าซภายใต้ความดัน (Gases under pressure) 6. ของเหลวไวไฟ (Flammable liquids) 7. ของแข็งไวไฟ (Flammable solids) 8. สารที่ทำปฏิกิริยาได้เอง (Self-reactive substances and mixtures) 9. ของเหลวที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ (Pyrophoric liquids) 10. ของแข็งที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ (Pyrophoric solids) 11. สารที่เกิดความร้อนได้เอง (Self-heating substances and mixtures) 12. สารที่สัมผัสน้ำแล้วให้ก๊าซไวไฟ (Substances and mixtures which, in contact with water, emit flammable gases) 13. ของเหลวออกซิไดส์ (Oxidizing liquids) 14. ของแข็งออกซิไดส์ (Oxidizing solids) 15. สารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์ (Organic peroxides) 16. สารกัดกร่อนโลหะ (Corrosive to metals)

ความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ (Health hazards) จำแนกเป็น 10 ประเภท 1. ความเป็นพิษเฉียบพลัน (Acute toxicity) 2. การกัดกร่อนและการระคายเคืองต่อผิวหนัง (Skin corrosion/irritation) 3. การทำลายดวงตาอย่างรุนแรงและการระคายเคืองต่อดวงตา (Serious eye damage/eye irritation) 4. การทำให้ไวต่อการกระตุ้นอาการแพ้ต่อระบบทางเดินหายใจหรือผิวหนัง (Respiratory or skin sensitization) 5. การก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ของเซลล์สืบพันธุ์ (Germ cell mutagenicity) 6. การก่อมะเร็ง (Carcinogenicity) 7. ความเป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ (Reproductive toxicity) 8. ความเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัส ครั้งเดียว (Specific target organ toxicity - Single exposure) 9. ความเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัส ซ้ำ (Specific target organ toxicity - Repeated exposure) 10. ความเป็นอันตรายจากการสำลัก (Aspiration hazard)

ความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental hazards) จำแนกเป็น 1 ประเภท ความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมในน้ำ (Hazardous to the aquatic environment)

เกณฑ์การจำแนกความเป็นอันตราย ความเป็นอันตรายของสารเคมี แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ - ความเป็นอันตรายทางกายภาพ (Physical hazards) - ความเป็นอันตรายต่อสุขภาพ (Health hazards) - ความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental hazards) ความเป็นอันตรายในแต่ละกลุ่ม แบ่งออกเป็นประเภท (Class) ความเป็นอันตรายในแต่ละประเภท แบ่งออกเป็นประเภทย่อย(Category or Division or Type) ตามระดับความรุนแรงของความเป็นอันตราย

Physical Hazards Hazard Category Hazard Class Explosives Div1.1 Div 1.2 Div 1.3 Div 1.4 Div 1.5 Hazard Category Div 1.6 1 2 3 4 Type A Type B Type C Type D Type E Type F Type G Explosives Hazard Class Flammable Gases Flammable Aerosols Oxidising Gases Pressurised Gases Compressed Gases Liquefied Gases Dissolved Gases Refrigerated Liquefied Gases Flammable Liquids Flammable Solids Self Reactive Substances/Mix. Pyrophoric Liquids Pyrophoric Solids Self Heating Substances/Mix. Water ReactiveFlammable Gases Oxidising Liquids Oxidising Solids Organic Peroxides Corrosive to Metals 3

Health Hazards 1 2 3 4 5 1A 1B 1C 2A Acute Toxicity, Oral Acute Toxicity, Dermal Acute Toxicity, Inhalation Skin Corrosion/Irritation Hazard Class Respiratory Sensitisation Skin Sensitisation Germ Cell Mutagenicity Carcinogenicity Reproductive Toxicity - Fertility Reproductive Toxicity - Development Target Organ ST – Single Dose Eye Irritation Target Organ ST – Repeat Dose Aspiration 1 2 3 4 5 1A 1B 1C Corrosive Irritant Hazard Category 2A Lactation

Hazard Class Hazard Category ความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมในน้ำ (Hazardous to the aquatic environment) Hazard Class Hazard Category 1 2 3 Acute aquatic toxicity 1 2 3 4 Chronic aquatic toxicity

คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการสารเคมี ฉลาก องค์ประกอบบนฉลาก - รูปสัญลักษณ์ (Pictograms) - คำสัญญาน (A signal word) - ข้อความแสดงความเป็นอันตราย (Hazard Statements) - ข้อความแสดงข้อควรระวัง (Precautionarystatements) ตัวบ่งชี้ผลิตภัณฑ์ (Product identifier) การบ่งชี้ผู้จัดจำหน่าย (Supplier identification) - ข้อมูลอื่น ๆ (Any other additional information) ลักษณะ ฉลาก - รูปร่าง สี่เหลี่ยมจัตุรัสมุมตั้ง - สี สัญลักษณ์ – สีดำ สีพื้น – สีขาว เส้นขอบ – สีแดง

GHS Label elements GHS label comprises: Pictograms A signal word Hazard statements Precautionary statements Product identifier Supplier identification Any other additional information Hazard classification Transportation

ฉลากที่ใช้ในปัจจุบัน Transportation EU USA GHS

Transport pictograms

The GHS pictograms (รูปสัญลักษณ์) UN Recommendations on Transport of Dangerous goods

Comparison of UNRTDG & GHS Labeling

Comparison of UNRTDG & GHS Labeling

Comparison of Acute Toxicity

สารไวไฟ สารที่ทำปฏิกิริยาได้เอง สารที่ลุกติดไฟได้เองในอากาศ สารที่เกิดความร้อนได้เอง สารที่สัมผัสน้ำแล้วให้ก๊าซไวไฟ สารออกซิไดส์ สารเปอร์ออกไซด์อินทรีย์ วัตถุระเบิด สารที่ทำปฏิกิริยาได้เอง สารอินทรีย์เปอร์ออกไซด์

คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการสารเคมี ก๊าซภายใต้ความดัน สารกัดกร่อน (โลหะ/ผิวหนัง/ดวงตา) ความเป็นพิษเฉียบพลัน (ประเภท 1-2-3)

! การระคายเคืองต่อดวงตา/ผิวหนัง การทำให้ไวต่อการกระตุ้นอาการแพ้ต่อผิวหนัง ความเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจง (ประเภทย่อย 3) ความเป็นพิษเฉียบพลัน (ประเภทย่อย 4) การก่อมะเร็ง การทำให้ไวต่อการกระตุ้นอาการแพ้ต่อระบบทางเดินหายใจ ความเป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ ความเป็นพิษต่อระบบอวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจง การก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ฯ ความเป็นอันตรายจากการสำลัก ความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมในน้ำ (ทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง)

Flammable liquids Category 1 Category 2 Category 3 Category 4 Symbol No symbol Signal Word Danger Warning Criteria Flash point <23°C and initial boiling point ≤35°C Flash point <23°C and initial boiling point >35°C Flash point ≥23°C and ≤60°C Flash point >60°C and ≤93°C

ฉลาก องค์ประกอบบนฉลาก - รูปสัญลักษณ์ (Pictograms) - คำสัญญาน (A signal word) - ข้อความแสดงความเป็นอันตราย (Hazard Statements) - ข้อความแสดงข้อควรระวัง (Precautionarystatements) ตัวบ่งชี้ผลิตภัณฑ์ (Product identifier) การบ่งชี้ผู้จัดจำหน่าย (Supplier identification) - ข้อมูลอื่น ๆ (Any other additional information)

“Danger” or “Warning” Signal words Used to emphasis hazard and to discriminate between hazard categories (level of hazard) e.g. Acute toxicity category 1 will require “Danger”, category 4 will require “Warning”

Signal words and hazard statements Connected to Hazard class and category. Summarized in GHS Annex I Only two signal words: Danger or Warning

Precautionary statements Statements are recommended with criteria, but not mandatory GHS Annex 3 being further developed

Precautionary Pictograms Precautionary Pictograms 

Product and supplier identifier Product identifier A name that identifies the chemical/product For mixtures, names of substances that contribute to the hazard Some degree of confidentiality may be established when GHS is implemented by authority Supplier Identifier Name, address and telephone number

Combination Packaging for a Category 1 Target Organ/Systemic Toxicant and Category 2 Flammable Liquid

Precautionary statements:    Epichlohydrin    1-Chloro-2,3-epoxypropane CAS No. 106-89-8 UN No. 2023 DANGER Hazard statements: Flammable liquid Toxic if swallowed Toxic in contact with skin Fatal if inhaled May cause severe skin burns and eye damage May cause an allergic skin reaction. Suspected of causing genetic defects. May cause cancer Toxic to aquatic life Precautionary statements: Keep out of reach of children. Keep container tightly closed. Do not handle until all safety precautions have been read and understood. Wear eye/face protection. Wear protective gloves/clothing. Wear respiratory protection, as specified by the manufacturer. Do not breathe dust/fume/gas/mist/vapours/spray. Use appropriate ventilation. Wash thoroughly after handling. United Nations Corp. 1-1, Peace Ave., Geneva, Switzerland Tel. 41 22 917 00 00 Fax. 41 22 917 00 00

EU GHS Proposal Table 3.6.2 Label elements for carcinogenicity Classification Category 1A/1B Category 2 GHS Pictograms Signal Word Danger Warning Hazard Statement H350: May cause cancer (state route of exposure if it Is conclusively proven that no other routes of exposure cause the hazard) H351: Suspected of causing cancer (state route of exposure if it is conclusively proven that no other routes of exposure cause the hazard) Precautionary Statement Prevention P201 P202 P281 Response P308 + P313 Storage P405 Precautionary Statment Disposal P501 68

All other elements must appear ระดับความรุนแรงของความเป็นอันตราย Signal words Danger > Warning ระดับความรุนแรงของความเป็นอันตราย : pictograms: > For skin or eye irritation For skin sensitisation For respiratory sensitisation All other elements must appear

ข้อมูลความปลอดภัย ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมี หรือสารผสม และบริษัทผู้ผลิต และ/หรือ จำหน่าย (Identification) ข้อมูลระบุความเป็นอันตราย (Hazard(s) identification) องค์ประกอบและข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม (Composition/information on ingredients) - มาตรการปฐมพยาบาล (First-aid measures) มาตรการผจญเพลิง (Fire-fighting measures) - มาตรการการจัดการเมื่อมีการรั่วไหลของสารโดยอุบัติเหตุ (Accidental release measures) - การขนถ่ายเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ (Handling and storage) - การควบคุมการรับสัมผัสและการป้องกันส่วนบุคคล(Exposure controls/personal protection) - คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี (Physical and chemical properties) ความเสถียรและการไวต่อปฏิกิริยา (Stability and reactive) - ข้อมูลด้านพิษวิทยา (Toxicological information) ข้อมูลผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ (Ecological information) - ข้อพิจารณาในการกำจัด (Disposal considerations) - ข้อมูลเกี่ยวกับการขนส่ง (Transport information) - ข้อมูลเกี่ยวกับกฎข้อบังคับ (Regulatory information) - ข้อมูลอื่น (Other information)

หัวข้อ 1 การระบุชื่อสารเคมีและชื่อผู้ผลิต การระบุชื่อสาร/สารผสม - ตัวบ่งชี้ตามระบบ GHS - ตัวบ่งชี้ที่เป็นเอกลักษณ์อื่นๆ รายละเอียดของผู้ผลิตหรือผู้จำหน่าย - ชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ การใช้ที่แนะนำและข้อจำกัดในการใช้สารเคมีนั้น หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อในกรณีฉุกเฉิน

หัวข้อ 2 การระบุความเป็นอันตราย - การจำแนกสารหรือสารผสม (เป็นประเภทใด และประเภทย่อยใด) - ฉลากตามระบบ GHS รวมทั้งข้อความที่เป็นข้อควรระวัง - ความเป็นอันตรายอื่นๆ ซึ่งไม่มีผลในการจำแนก

หัวข้อ 3 ส่วนประกอบ/ข้อสนเทศของส่วนผสม สาร - ชื่อทางเคมี (Chemical identity) - ชื่อสามัญ (Common name) ชื่อพ้อง (synonym) ของสาร - CAS Number และตัวบ่งชี้ที่เป็นเอกลักษณ์อื่นๆ - สิ่งเจือปน (impurities) และสารเติมแต่งที่ทำให้คงตัว (stabilizing additives) สารผสม - ชื่อทางเคมี - หมายเลขที่กำหนดไว้สำหรับสารผสม (Identification number) - ช่วงความเข้มข้น

หัวข้อ 4 การปฐมพยาบาล - คำอธิบาย - อาการหรือผลกระทบที่สำคัญที่สุด ทั้งแบบเฉียบพลัน และแบบล่าช้า ออกไป - หากเป็นไปได้ ให้มีข้อบ่งชี้ในเรื่อง - เรื่องที่แพทย์ควรให้ความสนใจในทันที - การรักษาพิเศษ

หัวข้อ 5 มาตรการในการดับเพลิง - สารดับเพลิงที่เหมาะสม - อันตรายจำเพาะที่เกิดขึ้นจากสารเคมีนั้น - อุปกรณ์ป้องกันพิเศษและข้อควรระวังสำหรับ พนักงานดับเพลิง หัวข้อ 6 มาตรการจัดการเมื่อเกิดการหกรดหรือรั่วไหล - ข้อควรระวังส่วนบุคคล อุปกรณ์ป้องกัน และวิธีปฏิบัติในกรณี ฉุกเฉิน - ข้อควรระวังด้านสิ่งแวดล้อม - วิธีการและวัสดุที่ใช้ในการควบคุม และการทำความสะอาด สารที่หกรั่วไหล

หัวข้อ 7 การใช้และการจัดเก็บ (Handling and storage) - ข้อควรระวังในการใช้อย่างปลอดภัย - สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเพื่อความปลอดภัยในการเก็บรักษา (รวมทั้งสิ่งที่เข้ากันไม่ได้ (incompatibilities)) หัวข้อ 8 การควบคุมการรับสัมผัส/การป้องกันอันตรายส่วนบุคคล - พารามิเตอร์ในการควบคุม - การควบคุมโดยใช้หลักการทางวิศวกรรมที่เหมาะสม - มาตรการป้องกันเป็นรายบุคคล (รวมทั้งอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (PPE))

หัวข้อ 9 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี - สถานะ รูปร่าง สี - ขีดจำกัดในการติดไฟทั้ง upper และ lower - ลักษณะกลิ่น หรือขีดจำกัดในการระเบิด - ระดับกลิ่นที่ทนได้ - ความดันไอ - ค่าความเป็นกรด/ด่าง (pH) - ความหนาแน่นไอ - จุดหลอมเหลว/จุดเยือกแข็ง - ความหนาแน่นสัมพัทธ์ - จุดเดือดเริ่มต้น และช่วงการเดือด - การละลายได้ในน้ำ - จุดวาบไฟ - สัมประสิทธิ์การแบ่งชั้น (Partition coefficient, - อัตราการระเหยเป็นไอ n – octano/water) - ความสามารถในการติดไฟ - อุณหภูมิที่ติดไฟได้เอง (ของแข็ง ก๊าซ) - อุณหภูมิที่ทำให้แตกตัว - ความหนืด และพารามิเตอร์ทางเคมีและ ทางกายภาพอื่นๆ

หัวข้อ 10 ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา - ความสามารถในการทำปฏิกิริยา - ความเสถียรทางเคมี - ความเป็นไปได้ในการเกิดปฏิกิริยาที่เป็นอันตราย - สภาพแวดล้อมที่ต้องหลีกเลี่ยง - วัสดุที่เข้ากันไม่ได้ - ผลิตภัณฑ์ที่แตกตัวแล้วมีความเป็นอันตราย

หัวข้อ 11 ข้อสนเทศด้านพิษวิทยา - แสดงข้อมูลความเป็นอันตรายต่อสุขภาพทุกอย่างที่เป็นไป ตามระบบ GHS *ถ้าไม่มีข้อมูล ควรระบุใน SDS ด้วยข้อความว่า ไม่มีข้อมูล (not available) - ข้อสนเทศเกี่ยวกับหนทางที่น่าจะได้รับสัมผัสได้ง่าย - อาการ (symptoms) ที่เกี่ยวกับคุณลักษณะทางเคมี ฟิสิกส์ และทางพิษวิทยา - ผลกระทบในทันทีและที่ล่าช้าออกไป และผลกระทบเรื้อรัง จากการได้รับสัมผัสทั้งในระยะสั้นและระยะยาว - มาตรการความเป็นพิษในเชิงตัวเลข เช่น ค่า ATE Interactive effects - เมื่อหาข้อมูลทางเคมีจำเพาะไม่ได้ - สารผสม และข้อสนเทศของส่วนผสม - ข้อสนเทศที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

หัวข้อ 12 ข้อสนเทศด้านนิเวศวิทยา - ความเป็นพิษ - การตกค้างยาวนานและความสามารถในการสลายตัว - ศักยภาพในการสะสมในสิ่งมีชีวิต - การเปลี่ยนแปลงของสารในพื้นดิน - ผลกระทบในทางเสียหายอื่นๆ หัวข้อ 13 ข้อพิจารณาในการกำจัดหรือทำลาย - วิธีการกำจัด

หัวข้อ 14 ข้อสนเทศสำหรับการขนส่ง - UN Number - UN Proper Shipping Name - ประเภทความเป็นอันตรายด้านการขนส่ง - Packing group (ถ้าใช้ได้) - ความเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม - ข้อควรระวังพิเศษสำหรับผู้ใช้

หัวข้อ 15 ข้อสนเทศด้านกฎระเบียบ - ข้อสนเทศของกฎระเบียบที่ไม่ได้ระบุไว้ในส่วนอื่นใด ของ SDS - กฎระเบียบด้านความปลอดภัย สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม เฉพาะที่เกี่ยวกับสารเคมีนั้น

หัวข้อ 16 ข้อสนเทศอื่นๆ - วันที่จัดทำ SDS - มีการบ่งชี้ชัดเจนการเปลี่ยนแปลง SDS

กรมโรงงานอุตสาหกรรม www.diw.go.th www.diw.safety.org สายด่วน สารเคมี 1564

GHS แนวคิดและวิธีการปฏิบัติ ตามระบบการจัดกลุ่มความเป็นอันตราย และการติดฉลากสารเคมีแบบสหประชาชาติ