ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก. สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น Infrastructure
รายชื่อ รพ.ครู ก. เขต 6 ปี 49 -50 จังหวัดขอนแก่น โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น จังหวัดอุดรธานี โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี จังหวัดมหาสารคาม โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดเลย โรงพยาบาลเลย จังหวัดร้อยเอ็ด โรงพยาบาลร้อยเอ็ด จังหวัดหนองคาย โรงพยาบาลหนองคาย จังหวัดหนองบัวลำภู โรงพยาบาลหนองบัวลำภู Infrastructure รวมจำนวนโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ ทั้งสิ้น 7 แห่ง
ตัวชี้วัดของ HIVQUAL-T ตัวชี้วัดหลัก: 1. ติดตามผลการตรวจ CD4 และหรือ Viral Load 2. รักษาด้วยยาป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส (PCP and Crypto) 3. ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัส 4. ตรวจคัดกรองและการรักษาวัณโรค 5. ป้องกันการแพร่เชื้อในกลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวี 6. คัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ Infrastructure
ตัวชี้วัดของ HIVQUAL-T ตัวชี้วัดเสริม 1.การรักษาด้วยยาป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาส (Pennicilium, MAC) 2. การประเมินความสม่ำเสมอในการรับประทานยาต้านไวรัส 3. การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Infrastructure
ผลการวิเคราะห์ HIVQUAL-T เขต สคร.6 ปี 2549-2550 จำนวน รพ. Caselist Sample CD4 PCP Crypto Penni MAC ARV Adh TB Safe Sex Syphilis PAP VL 2549 7 3470 454 87.79 86.31 81.46 4.86 4.07 78.57 92.09 79.6 78.63 22.84 12.74 3.36 2550 91 11485 4676 90.76 80.42 70.26 27.88 13.18 84.2 79.27 76.21 89.82 11.32 13.59 34.71
ผลการวิเคราะห์โดย HIVQUAL-T ครู ก. ผลการประเมินการให้บริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ/และผู้ป่วยเอดส์ ปี 2549-50 โดย HIVQUAL –T Program ผลการวิเคราะห์โดย HIVQUAL-T ครู ก. 6 Indicators %
ผลการวิเคราะห์โดย HIVQUAL-T ครู ก. ผลการประเมินการให้บริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ/และผู้ป่วยเอดส์ ปี 2549-50 โดย HIVQUAL –T Program ผลการวิเคราะห์โดย HIVQUAL-T ครู ก. OI Indicators %
อบรมครู ก.
อบรมครู ก.
อบรมครู ก.
นิเทศครู ก.
นิเทศครู ก.
นิเทศครู ก.
นิเทศครู ก.
นิเทศครู ก.
สรุปบทเรียน
สรุปบทเรียน
อบรมส่วนขยายโรงพยาบาลในพื้นที่
อบรมส่วนขยายโรงพยาบาลในพื้นที่
อบรมส่วนขยายโรงพยาบาลในพื้นที่
อบรมส่วนขยายโรงพยาบาลในพื้นที่
อบรมส่วนขยายโรงพยาบาลในพื้นที่
อบรมส่วนขยายโรงพยาบาลในพื้นที่
บทเรียนจากโรงพยาบาล ครู ก. เป็นเครื่องมือช่วยในการวัดและประเมินผลการทำงาน มีแนวทาง/เป้าหมายการทำงานชัดเจน ข้อมูลสถานการณ์พื้นฐานของโรงพยาบาล ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากหน่วยงานอื่นๆ ทำให้มีโอกาสพัฒนาองค์ความรู้ เกิดเครือข่ายการทำงานด้านการพัฒนาคุณภาพฯ
ข้อดี การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและระบบบริการ กระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการ (QI , PM) คณะกรรมการ/คณะทำงาน/ทีมงานสหวิชาชีพ ขยายเครือข่ายการทำงานเพิ่มขึ้น ที่ชัดเจน Soft ware (HIVQUAL-T Program) ระบบการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล/สปสช. ขยายความครอบคลุม/เพิ่มคุณภาพของบริการดูแลฯ
ปัญหาอุปสรรค 1. ผู้ให้บริการ - จนท. ในระบบ ระบบฐานข้อมูลมาลงโปรแกรมต้องดึงข้อมูลจากหลายฝ่าย ภาระงานเจ้าหน้าที่มีมาก ผู้รับการอบรมแล้วเปลี่ยนงาน ผู้มารับงานใหม่ไม่รับรู้ ฐานวิธีคิด ทัศนะและมุมมองที่แตกต่างกัน 1. ผู้ให้บริการ - จนท. ในระบบ 2. ผู้ให้บริการ – ผู้รับบริการ Infrastructure
แผนการดำเนินงานปี 2551 จัดประชุมกลุ่ม (Local group learning) ในระดับเขต (รพ.ครู ก) 4-5 กันยายน 2551 นิเทศ ติดตาม รพ.ครู ก นิเทศ ติดตาม ส่วนขยาย (ร่วมกับ รพ.ครู ก / สอวพ./สปสช.) - หน่วยงานที่มีปัญหา อุปสรรค - รพ.ที่ขาดกระบวนการวัดคุณภาพฯ(PM) จัดประชุมสรุปผลการดำเนินงานรพ.ส่วนขยายเดือนพฤศจิกายน 51 จัดทำรายงานสรุปผล Infrastructure
Thank You for your attention