สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.5 ศักยภาพของระบบฐานข้อมูล เพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน 1. จุดอ่อน ของคณะฯ 1.1 ยังไม่มี SERVERS เป็นของคณะฯเอง.
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
การเตรียมพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
การควบคุมวัณโรคเขตเมือง
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนารูปแบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์อย่างครอบคลุมในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (TUC Care Project) ปี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
Best Practice โรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย
โรงพยาบาล หน่วยบริการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
โรงพยาบาลทับสะแก อ.ทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ ขนาด 60 เตียง
ภาพรวม/บทเรียนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพฯ HIVQUAL-T ของ รพ.ครู ก.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การพัฒนากิจกรรมเพื่อการป้องกันการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยา
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
วิเคราะห์จุดอ่อน – จุดแข็ง และแนวทางแก้ไขปัญหาของงานข้อมูลสารสนเทศ ในความสัมพันธ์ระดับต่าง ๆ ของหน่วยงาน กลุ่มที่ ๔ กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ.
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมชั้น 7 โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี
การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วย
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
กลุ่มที่ 11.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
โครงการบริหารจัดการคลังวัคซีนสำรองเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๕๘.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ชื่อโครงการ ผู้นำเสนอ ฝ่าย วันที่ การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2550 นายเกษม วงค์แสน เครือข่ายสื่อสารและบริการวิทยาเขต 30 พฤษภาคม.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่ ร่วมกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และโรงพยาบาลครูก. ในเขตภาคเหนือตอนบน Infrastructure

หน่วยงานสนับสนุน (สคร.10 และสสจ. 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน) ความสำเร็จ - มีการสนับสนุนด้านวิชาการ - มีการสร้างเครือข่ายระดับเขต / จังหวัด / โรงพยาบาล - มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขต / จังหวัด - สนับสนุนด้านการพัฒนาคุณภาพบริการฯ - ผู้บริหารรับรู้และให้การสนับสนุนในการพัฒนาคุณภาพโดยรูปแบบ HIVQUAL-T - การประสานงานเป็นแบบไม่เป็นทางการ (โดยใช้สัมพันธภาพส่วนตัว) - พัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับโรงพยาบาล - มีแผนงานและการประสานที่ชัดเจน - มีผู้ประสานงานระดับเขตและจังหวัด

หน่วยงานสนับสนุน (สคร.10 และสสจ. 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน) (ต่อ) หน่วยงานสนับสนุน (สคร.10 และสสจ. 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน) (ต่อ) โอกาสพัฒนา - เป็นพื้นที่ศึกษาดูงาน - เป็นพื้นที่ที่มีปัญหาความรุนแรงของโรคเอดส์ จึงมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง - เป็นเขตนำร่องในการนำ HIVQUAL-T Model มาใช้ - จัดอบรมแก่บุคลากรใหม่ที่เข้ามารับผิดชอบงานพัฒนาคุณภาพฯ และรพ.ส่วนขยาย - มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงานด้านการพัฒนาคุณภาพระดับจังหวัดและรพ. อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ - มีแหล่งสนับสนุนงบประมาณที่ชัดเจน (จากสปสช. และกรมควบคุมโรค ) - มีการสนับสนุนเชิงนโยบาย เช่นมีเวทีชี้แจงให้ผู้บริหารรับทราบ

หน่วยบริการ (สถานพยาบาล) จุดแข็ง - บุคลากรมีศักยภาพสูง มีความอดทน เสียสละ และรับผิดชอบ มีประสบการณ์ (เขี้ยวลากดิน) - ผู้บริหารเห็นความสำคัญและให้การสนับสนุน (บางแห่ง) - มีงบประมาณสนับสนุนต่อเนื่อง (อย่างเพียงพอ) - มีตัวชี้วัดติดตามการดำเนินงานชัดเจน - มีการสนับสนุนเครื่องมือและอุปกรณ์ (คอมพิวเตอร์) ในการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพฯ - มีเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการพัฒนาคุณภาพฯ ระหว่างโรงพยาบาล - มีแผนการดำเนินงานชัดเจน ต่อเนื่อง - มีการบูรณาการเข้ากับระบบปกติของหน่วยงาน - มีทีมทำงานที่เป็นสหวิชาชีพที่เข้มแข้ง - มีการประสานงานของทีมบุคลากรโรงพยาบาลอย่างสม่ำเสมอ

หน่วยบริการ (สถานพยาบาล) - ต่อ - จุดอ่อน - โปรแกรมปรับเปลี่ยนหลาย Version - มีการปรับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่และผู้ที่ประสานงานในโรงพยาบาลบ่อยครั้ง - ขาดการสื่อสารในการส่งต่องาน (กรณีมีการปรับเปลี่ยนเจ้าหน้าที่บางหน่วยงานในรพ.) - Work load และขาดขวัญกำลังใจในการทำงาน ทำให้เกิดภาวะหมดไฟ - มีข้อจำกัดและเงื่อนไขในการใช้งบประมาณทำให้ไม่สามารถใช้ได้สะดวก

หน่วยบริการ (สถานพยาบาล) - ต่อ - ปัญหาและอุปสรรค - งบประมาณล่าช้า (นโยบาย) - ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญและไม่ให้การสนับสนุน (บางแห่ง) - ขั้นตอนรวบรวมข้อมูลมีหลายขั้นตอนและใช้เวลา พร้อมทั้งต้องประสานงานกับหลายฝ่าย - ขาดเครื่องคอมพิวเตอร์สำหรับลงข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล (เฉพาะโปรแกรม HIVQUAL-T)

หน่วยบริการ (สถานพยาบาล) - ต่อ - โอกาสพัฒนา - เห็นตัวชี้วัดที่ชัดเจนนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพฯ ได้ตรงประเด็น - ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกพื้นที่ - ได้รับงบประมาณในการประเมินและวัดผลด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T อย่างต่อเนื่องและ สม่ำเสมอ - สร้างบุคลากรที่สามารถทำงานทดแทนกันได้ (หลาย ๆ คน) - ผลการประเมินด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T ใช้เป็นตัวชี้วัดระดับกระทรวง และเป็นเกณฑ์ ในการพิจารณาความดีความชอบ - มีการ Update ความรู้ใหม่ ทุกปี