นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
เป้าหมายการให้บริการและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
25/07/2006.
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การวางแผนยุทธศาสตร์.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ข้อเสนอแนะของผู้นิเทศ ข้อเสนอแนะในประเด็นสำคัญ เพิ่มเติม ดังนี้
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
Output , Outcome , Impact ของระบบสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ พี่เลี้ยง CUP นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ

นโยบายผู้ตรวจราชการเขต ๕ พี่เลี้ยงCUP

Job Specification แพทย์ พยาบาล นักวิชาการ มีความรู้ความเข้าใจ และประสบการณ์ด้านการบริการและบริหารงานปฐมภูมิ มีทัศนคติที่ดีต่องานปฐมภูมิ มีบุคลิกที่สามารถประสานงาน และทำงานเป็นทีมได้

มีความรู้ความเข้าใจด้านบริการและบริหารงานปฐมภูมิ ระบบบริการปฐมภูมิ Family Medicine

ระบบบริการปฐมภูมิ ระบบที่ให้บริการสุขภาพในระดับที่เป็นด่านแรกของระบบบริการสาธารณสุข (First line health services) ทำหน้าที่ รับผิดชอบดูแลสุขภาพของประชาชนอย่างต่อเนื่องร่วมกับประชาชน โดยประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านการแพทย์ จิตวิทยา และสังคมศาสตร์ ในลักษณะผสมผสาน (Integrated) การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การ รักษาโรค และการฟื้นฟูสภาพได้อย่างต่อเนื่อง(Continuous) ด้วยแนวคิดแบบองค์รวม (Holistic) ให้แก่บุคคล ครอบครัว และชุมชน (Individual, family and community) โดยมีระบบการส่งต่อและเชื่อมโยงกับโรงพยาบาลได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งประสานกับองค์กรชุมชนในท้องถิ่น เพื่อพัฒนาความรู้ของประชาชนในการ ดูแลส่งเสริมสุขภาพของตนเอง และสามารถดูแลตนเองเมื่อเจ็บป่วยได้อย่างสมดุล

Family Medicine เวชศาสตร์ครอบครัว Family Life Cycle ,Family System Individual Risk Assessment Disease VS Illness Patient Center :Who is he? and his life? Symptom Concern Early Detection Common Problems: Acute , Chronic Holistic Care HHC , Home Ward Refer

บริบทของCUP โครงสร้าง การบริหาร การประสาน SWOT

กรอบแนวคิดมาตรฐานคุณภาพบริการปฐมภูมิ (PCA) การจัดการสารสนเทศและความรู้ ด้านผู้ป่วยและชุมชน  ตอบสนองปัญหา  สุขภาพดี  ประชาชนพึ่งตนเอง ด้านบุคลากรและระบบงาน ด้านประสิทธิผลองค์กร  ด้านการเงิน ด้านธรรมาภิบาลและความ รับผิดชอบต่อสังคม การมุ่งเน้น พนักงาน ผลลัพธ์ การนำ การให้ความสำคัญกับ ประชาชนและชุมชน การจัดการ กระบวนการ บริหารจัดการใน CUP & PCU การวางแผน กลยุทธ์ 1.กระบวนการสร้างคุณค่าของ ระบบบริการปฐมภูมิ กระบวนการสร้างคุณค่าของระบบบริการปฐมภูมิ 2.กระบวนการสนับสนุนของ ระบบบริการปฐมภูมิ 1.บริการรายบุคคล &ครอบครัว 2.การดูแลกลุ่มประชากร 3.การสร้างกระบวนการเรียนรู้ ร่วมกับองค์กรชุมชน 1.สนับสนุนการบริหาร และวิชาการ 2.สนับสนุนและประสานเชื่อมโยงบริการ 3.สนับสนุนการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ชุมชน หน่วยต่างๆ

Job Description พี่เลี้ยงและประสานงานเรื่องปฐมภูมิของ CUP

วิชาการ ให้ความรู้และเป็นที่ปรึกษา วิชาการ ให้ความรู้และเป็นที่ปรึกษา HT DM Screening P&P Risk Treatment Complication

วิชาการ Common Problems URI Headache Dyspepsea

Emerging Disease , Pandermic Disease Endermic Disease

บริหาร งานบริการปฐมภูมิ นโยบาย

บริหารงานบริการปฐมภูมิ อาจไม่ได้บริหารเองแต่ประสาน จัดการข้อมูล พี่เลี้ยง คนไข้ โรค การกระจาย การติดตามเคส Resource Management หน่วยบริการ คนให้บริการ ยา เวชภัณฑ์ เงิน Risk Management ฟ้องร้อง Refer เป็นตัวกลางประสานงานระหว่างหน่วยงาน งานคุณภาพบริการ

บริหารนโยบาย 3S  3ดี มาตราฐาน รพสต PCA

สรุปบทบาทพี่เลี้ยงการพัฒนาระบบปฐมภูมิระดับอำเภอ ด้านการบริหารจัดการ - จัดระบบการบริหารจัดการในภาพรวมอำเภอ - ยุทธศาสตร์การพัฒนา รพ.สต. (รูปแบบการจัดบริการแบบเดี่ยว และแบบเครือข่าย) - การสนับสนุนทั้งอำเภอ 1 คน 2 แหล่งเงินทั้งหมด (กองทุน ช่องทางการได้มา) 3 วัสดุ / ครุภัณฑ์ตามเกณฑ์ 4 การจัดการฐานข้อมูลประชากรในพื้นที่รับผิดชอบ ของและ รพ.สต. ทั้งอำเภอ( 5 กลุ่มเป้าหมายหลัก)

สรุปบทบาทพี่เลี้ยงการพัฒนาระบบปฐมภูมิระดับอำเภอ 2. ด้านวิชาการ 2.1 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในระบบปฐมภูมิ - สำรวจและประเมินส่วนขาด (Training Need) - ทำแผนพัฒนาภาพรวมอำเภอ 2.2 สนับสนุนให้เกิดการวิจัยและนวัตกรรมในพื้นที่

สรุปบทบาทพี่เลี้ยงการพัฒนาระบบปฐมภูมิระดับอำเภอ 2. ด้านบริการ 3.1 จัดรูปแบบการบริการใน รพ.สต. แบบเดี่ยวและแบบเครือข่าย (1) ด้านรักษา - จัดคลินิกบริการผู้ป่วยเรื้อรัง, HHC, ฯลฯ - จัดระบบ Refer ที่เชื่อมโยงกับ รพ.แม่ข่าย และการ ส่งกลับให้ อสม. - จัดระบบให้คำปรึกษา เช่น Web cam. (2) ด้านส่งเสริม/ ป้องกัน/ฟื้นฟู - จัดระบบการให้บริการ 5 กลุ่มเป้าหมาย