การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา ผศ.ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ความสำคัญของการวิจัยด้านอาชีวศึกษา การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน การวิจัยเพื่อแก้ปัญหาในการเรียนการสอน การวิจัยเพื่อศึกษาวิธีการพัฒนาผู้เรียน การวิจัยเพื่อสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ การวิจัยเพื่อศึกษาวิธีการแก้ปัญหาการจัดการศึกษา
ขอบเขตในการวิจัยด้านอาชีวศึกษา อุตสาหกรรม พณิชยกรรม /บริหารธุรกิจ เกษตรกรรม คหกรรม ศิลปกรรม เคมีสิ่งทอ อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ประมง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประเภทการวิจัยทางอาชีวศึกษา การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยเชิงทดลอง การวิจัยเชิงประเมินผล การวิจัยและพัฒนา การวิจัยเชิงคุณภาพ
ขั้นตอนการทำวิจัย ปัญหาการวิจัย กำหนดหัวข้อที่ต้องการทำวิจัย กำหนดกรอบแนวคิดการทำวิจัย ขอบเขตการทำวิจัย เขียนบทที่ 1 นำเสนอบทที่ 1
ปัญหาการวิจัยด้านอาชีวศึกษา ปัญหาในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปัญหาการบริหารจัดการสถานศึกษา สภาพและปัญหาการบริหารงาน..... ปัญหานักเรียน-นักศึกษา การมาสาย , การขาดเรียน, การร่วมกิจกรรม, ยาเสพติด , ทะเลาะวิวาท ปัญหาการสร้างสื่อการเรียนการสอน การสร้างสื่อและนวัตกรรมการเรียนการสอน ปํญหา......
การตั้งหัวข้อวิจัย การศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ....... สภาพและปัญหาการจัดการ........ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน.... ผลการพัฒนาทักษะ ........... การสร้างและหาประสิทธิภาพ....... การประเมินผลการดำเนินงาน......
การเขียนบทที่ 1 ความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์การวิจัย /สมมุติฐาน ขอบเขตการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ตัวแปรที่ศึกษา กรอบแนวคิดการวิจัย คำนิยามศัพท์ ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย
การเขียนความสำคัญของปัญหา การนำเสนอปัญหาวิจัย การกล่าวถึงความสำคัญที่ต้องแก้ไขปัญหา การศึกษาหลักการและวิธีการในการแก้ไขปัญหา การอ้างอิงเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การนำเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหา การสรุปสาเหตุที่ต้องทำการวิจัย
การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาสภาพและปัญหา เพื่อศึกษาสาเหตุของ....... เพื่อวิเคราะห์คุณลักษณะ .... เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน เพื่อศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่าง... เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน
ขอบเขตการวิจัย ประชากร กลุ่มตัวอย่าง กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ข้อตกลงเบื้องต้นในการวิจัย
การกำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย
กรอบแนวคิดการวิจัยเชิงสำรวจ ตัวแปรต้น เพศ , อายุ , สภาพภาพครอบครัว, ประสบการณ์ ฯลฯ ระดับชั้นเรียน , ประเภทวิชา ,สาขาวิชา ฯลฯ ตัวแปรตาม สภาพและปัญหา กรอบนโยบาย , หลักการทฤษฎี ฯลฯ
กรอบแนวคิดการวิจัยเชิงทดลอง ตัวแปรต้น วิธีการสอน ชุดทดลอง , ชุดฝึก e-Learning /CAI ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการแก้ปัญหา ความพึงพอใจ
คำนิยามศัพท์เฉพาะ วิธีการสอนแบบ ....... หมายถึง ชุดฝึก ........ หมายถึง สภาพปัจจุบันของ ...... หมายถึง ปัญหาการจัดการ..... หมายถึง สื่ออิเล็กทรอนิกส์เรื่อง...... หมายถึง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง..... หมายถึง วิชา....... หมายถึง นักเรียนระดับ....... หมายถึง
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย นักเรียน-นักศึกษาจะได้รับประโยชน์จาก ...... ครู-อาจารย์จะได้ประโยชน์จาก.............. ผู้บริหารจะได้ประโยชน์จาก............... สถานศึกษาจะได้ประโยชน์จาก............... สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจะได้ประโยชน์จาก... ผลการวิจัยจะเป็นแนวทาง....... ผลการวิจัยจะเป็นประยุกต์ใช้.........
ลำดับขั้นตอนการวิจัย
คำถาม ????
วิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com 081-7037515