ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แนวทางการสนับสนุน รพสต.
Advertisements

ตัวชี้วัดระดับกรม อย. ประเด็น ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้ดำเนินการ
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน คป.สอ.สตูล
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
การพัฒนาศักยภาพ อสม. ปี 2554
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์เด็ก
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
การประชุมเชิงปฏิบัติการใช้ค่ากลาง
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
รพสต. ความปลอดภัยผลิตภัณฑ์ พฤติกรรม การโฆษณา การบริโภค หลอกลวง
แนวทางการบริหารงบประมาณสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคระดับพื้นที่
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
แนวทางการดำเนินงานตามนโยบายสำคัญของกระทรวงสาธารณสุข
การส่งเสริมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชาติ สังคมศึกษา
นายอาทิตย์ อิสโม รองอธิบดีกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ดำเนินงานอนามัยวัยทำงาน ปี 2555
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
การพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภค
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานให้กับเกษตรกร ๒.เพื่อให้เกษตรกรสามารถจัดการศัตรูพืชได้ด้วยตัวเองอย่างยั่งยืน.
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ต้นน้ำ : ฟาร์มปศุสัตว์ ฟาร์มสัตว์น้ำ แปลงเพาะปลูก
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การแข่งขันศิลปหัตถกรรม ครั้งที่ ๖๔ ปีการศึกษา ๒๕๕๗
ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต ๑-๑๘
การส่งเสริมครอบครัวแข็งแรงเพื่อเป็นฐานของสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2557.
บทบาท อสม.เชิงรุก ๑. เป็นผู้นำทางความคิดและผู้นำทางด้านสุขภาพในระดับชุมชน ในการลดโรค ๕ โรคสำคัญที่เป็นสาเหตุการตายลำดับต้นๆของประชาชน คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
การดำเนินการตามภารกิจ การให้บริการจัดหางานในประเทศ
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติ ของ
สาขาจิตเวช.
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
การประชุมคณะอนุกรรมการ
ด้านการดำเนินงานการตั้งครรภ์หญิง วัยรุ่น o ๑. มาตรการด้านบริหารจัดการ การประชุมพิจารณา กรอบแนวทางการประเมินผลตามตัวชี้วัด และ มาตรฐานการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญ.
เรื่องเพื่อพิจารณาจากคณะ กรรมการบริหารจัดการสมัชชา สุขภาพจังหวัด วันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๕๗.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สถานศึกษา ที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
การติดตามงานโครงการส่งเสริมการเกษตรครั้งที่ ๓ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดและแนวทางการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ โดย กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค

โครงการที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย โครงการ อย.น้อย โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค

“ขยายเครือข่าย กระจายความรู้ มุ่งสู่การเฝ้าระวัง” โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗  “ขยายเครือข่าย กระจายความรู้ มุ่งสู่การเฝ้าระวัง”

โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ตัวชี้วัดที่ ๑ ร้อยละสถานศึกษาในจังหวัดที่ดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ๑. โรงเรียนมัธยมศึกษา ร้อยละ ๗๐ ๒. โรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาส ร้อยละ ๗๐ ๓. โรงเรียนประถมศึกษา ร้อยละ ๑๕

โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ตัวชี้วัดที่ ๒ ร้อยละ ๓๐ ของสถานศึกษาในจังหวัดที่ดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน อย.น้อย ในระดับดีขึ้นไป

โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ แนวทางการดำเนินงาน ๑.สนับสนุนงบประมาณให้ สสจ. ดำเนินกิจกรรม อย.น้อย (งบเพื่อ การดำเนินงานของ สสจ.) ๒.สนับสนุนงบประมาณการดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ของโรงเรียนต่างๆ โดยผ่าน สสจ.

โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ๓. ส่งเสริมให้นักเรียน อย.น้อย มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี “บริโภคถูกหลักโภชนาการ ปราศจากสารปนเปื้อน” เช่น : อ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสำอาง ก่อนซื้อหรือใช้ บริโภคนม ผัก และผลไม้เป็นประจำ หลีกเลี่ยงการซื้อหรือใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพตามโฆษณาชวนเชื่อ หลีกเลี่ยงการซื้ออาหารที่ใช้น้ำมันทอดซ้ำ หรือไม่ใช้น้ำมันทอดซ้ำ หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ๔. ส่งเสริมกิจกรรมตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารและเครื่องสำอาง เพื่อให้นักเรียนได้เฝ้าระวังความปลอดภัยในโรงเรียนและชุมชนโดยรอบ ๕. ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์รับแจ้งข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน อย่างน้อยจังหวัดละ ๒ โรงเรียน เพื่อให้เป็นศูนย์กลางการรับแจ้งข้อมูลจากการเฝ้าระวังของนักเรียน

โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ๖. จัดกิจกรรมการประกวดต่างๆ เช่น โครงงานแก้ไขปัญหาสุขภาพ ในโรงเรียน การประกวดขับร้องเพลงประจำโครงการ เป็นต้น โดยเป็น การประกวดโดยสมัครใจ และให้ส่งผลงานมาที่ อย. โดยตรง ๗. สำรวจข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน อย.น้อย ดำเนินการ โดย อย.

โครงการ อย.น้อย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ๘. รายงานผลการดำเนินงาน ให้กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ภายในวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๗

โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗   “เครือข่ายเข้มแข็ง ผนึกกำลังพัฒนาผู้บริโภค”

โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ตัวชี้วัด โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๒ โครงการทั่วประเทศ

โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ แนวทางการดำเนินงาน ๑. สนับสนุนโครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ในพื้นที่ โดยการสนับสนุนงบประมาณผ่าน สสจ. ๒. สนับสนุนงบประมาณให้ สสจ. ที่ส่งรายละเอียดโครงการให้ อย. ภายในเวลาที่กำหนด ๓. อย. ลงพื้นที่ติดตามการดำเนินงาน

โครงการพัฒนาเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) ๔. อย.จัดประชุมระดับประเทศ ๑ ครั้ง เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แก่ สสจ./กลุ่ม/องค์กร ที่ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ในพื้นที่ ๕. รายงานผลการดำเนินงาน ให้กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค ภายใน วันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๗

ขอบคุณครับ