ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546 สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม 2546
วัตถุประสงค์ ความพึงพอใจต่อสวัสดิการการรักษาพยาบาล รวบรวมความคิดเห็นของข้าราชการพลเรือนสามัญ เกี่ยวกับ ความพึงพอใจต่อสวัสดิการการรักษาพยาบาล ความต้องการและความคิดเห็นเกี่ยวกับบัตรประกัน สุขภาพถ้วนหน้าฯ ความเชื่อมั่นและคุณภาพการรักษาพยาบาล ข้อเสนอแนะและแนวทางการปรับปรุงสวัสดิการ การรักษาพยาบาล เพื่อให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปใช้เป็นแนวทาง ในการพัฒนาระบบสวัสดิการของข้าราชการต่อไป
ระเบียบวิธีการสำรวจ คุ้มรวม แผนการสุ่มตัวอย่าง ข้าราชการพลเรือนสามัญทั่วประเทศ ไม่รวม ข้าราชการส่วนท้องถิ่น อัยการ ตุลาการ ทหาร ตำรวจ ครู และข้าราชการการเมือง แผนการสุ่มตัวอย่าง Stratified Sampling มีข้าราชการพลเรือนสามัญ ระดับ 1 - 8 ที่ตกเป็นตัวอย่าง จำนวน 5,600 คน
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีการสัมภาษณ์ โดยเจ้าหน้าที่ของสำนักงาน สถิติแห่งชาติไปทำการสัมภาษณ์ข้าราชการตามส่วนราชการต่างๆ ที่ตกเป็นตัวอย่าง โดยให้กระจายไปทุกจังหวัดทั่วประเทศ ปฏิบัติการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ 16 - 25 กรกฎาคม 2546
วิธีการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย/ไม่สบายของข้าราชการ ร้อยละ 80 60 40 20 65.6 16.5 8.6 6.9 1.6 0.8 วิธีการรักษา 1 2 3 4 5 6 1. ไปโรงพยาบาลของรัฐ 3. ไปโรงพยาบาลเอกชน 4. ซื้อยากินเอง 5. ศูนย์บริการสาธารณสุข 6. อื่น ๆ 2. ไปคลินิก/โพลีคลินิก
ความพึงพอใจต่อการบริการของสถานพยาบาลของรัฐ ร้อยละ 74.3 80 67.2 66.3 54.6 60 45.4 พึงพอใจ 32.8 33.7 40 ไม่พึงพอใจ 25.7 20 เรื่อง การดูแลเอาใจใส่ การตรวจรักษาของแพทย์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ คุณภาพยา
ความพึงพอใจต่อสวัสดิการการรักษาพยาบาล ของข้าราชการที่ได้รับอยู่ในปัจจุบัน ร้อยละ 100 26.4 23.6 22.8 23.0 26.3 34.2 80 ไม่พึงพอใจ 60 พึงพอใจ 73.7 76.4 77.2 77.0 40 73.6 65.8 20 ภาค รวม กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น ใต้
เหตุผลที่ไม่พึงพอใจต่อสวัสดิการ การรักษาพยาบาลที่ได้รับอยู่ในปัจจุบัน 0.2 ไม่ควรกำหนดวันรักษาตัว(13 วันน้อยไป) 0.4 ควรเลือกโรงพยาบาลได้เหมือนประกันสังคม 2.4 ต้องการสิทธิเบิกให้ครอบคลุมพี่และน้อง 2.8 รัฐควรออกค่ารักษาให้โดยไม่ต้องมาเบิก 7.4 ต้องการรักษาทั้งโรงพยาบาลรัฐและเอกชน 10.3 การบริการยังไม่เป็นที่พอใจ 4 8 12 ร้อยละ
การเคยใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ของบิดามารดา/คู่สมรส/บุตร ของข้าราชการ การใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า เหตุผลที่เคยใช้บัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า ไม่มีความคิดเห็น อื่น ๆ ค่ารักษาพยาบาลถูก ไม่เคย 91.7 % เคย 8.3 % ไม่ต้องกังวลใจเรื่องเงิน สะดวกกว่าไม่ต้อง สำรองเงินจ่าย
การทราบเกี่ยวกับการไม่มีสิทธิใช้บัตร ประกันสุขภาพถ้วนหน้า ( 30 บาทรักษาทุกโรค) ร้อยละ 100 18.5 23.1 17.2 17.2 18.1 15.1 80 ไม่ทราบ 60 81.5 76.9 82.8 82.8 81.9 84.9 ทราบ 40 20 ภาค รวม กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น ใต้
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้บัตร ประกันสุขภาพถ้วนหน้า (30 บาทรักษาทุกโรค) ความต้องการสิทธิในการรักษาพยาบาล โดยใช้บัตรประกันสุขภาพ ฯ การใช้บัตรประกันสุขภาพฯ แทนสวัสดิการการรักษาพยาบาล ร้อยละ ร้อยละ 100 90.9 91.1 100 80 80 60 60 40 40 20 9.1 8.9 20 ต้องการ ไม่ต้องการ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
เหตุผลที่ข้าราชการไม่เห็นด้วยกับการ ใช้บัตรประกันสุขภาพฯ แทนสวัสดิการที่ได้รับอยู่ในปัจจุบัน เหตุผล 0.9 อื่น ๆ 2.7 มีข้อจำกัดของการระบุการไปใช้โรงพยาบาล 4.0 สวัสดิการค่ารักษาฯ เป็นสิ่งจูงใจให้เข้ารับราชการ 30.3 ไม่เชื่อมั่นในการรักษาด้วยบัตรทอง 30 บาท 37.6 สวัสดิการข้าราชการดีอยู่แล้ว 10 20 30 40 50 ร้อยละ
ความเชื่อมั่นในการใช้สวัสดิการ/ประกันสุขภาพประเภทใดก็ได้รับการรักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของรัฐที่มีคุณภาพเท่าเทียมกัน ร้อยละ 100 24.1 22.3 23.9 21.5 25.5 26.1 80 ไม่แน่ใจ/ไม่ทราบ 60 ไม่เชื่อมั่น 54.4 55.7 52.8 47.6 58.3 58.8 40 เชื่อมั่น 20 26.3 21.5 22.0 23.3 20.2 15.7 ภาค รวม กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น ใต้
คุณภาพการรักษาพยาบาลเมื่อใช้สวัสดิการประเภทต่าง ๆ เทียบกับสวัสดิการการรักษาพยาบาลของข้าราชการ การประกันสุขภาพถ้วนหน้า การประกันสังคม ดีกว่า เท่ากัน แย่กว่า การประกันสุขภาพกับบริษัทประกัน จ่ายค่ารักษาพยาบาลเอง
แนวทางการปรับปรุงสวัสดิการ การรักษาพยาบาลของข้าราชการ ร้อยละ รวม 100.0 ควรปรับปรุง 60.2 เข้ารับการรักษาพยาบาลได้ทั้งโรงพยาบาลของ รัฐและเอกชน สามารถเบิกค่ารักษาให้เร็วกว่าเดิม ขยายสิทธิเบิกค่ารักษาครอบคลุมพี่น้อง/บิดามารดา ของคู่สมรส เบิกค่ายาได้ตามจ่ายจริงรวมทั้งยานอกบัญชี ฯ เพิ่มแพทย์/พยาบาลและเครื่องมือแพทย์ที่ทันสมัย 34.9 10.7 9.4 7.1 2.5 ไม่ควรปรับปรุง 39.8 หมายเหตุ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับระบบประกันสุขภาพที่ให้สิทธิ เข้ารับการรักษาได้ทั้งสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน ร้อยละ 100 80 53.7 51.8 55.9 54.7 54.8 57.6 ไม่เห็นด้วย 60 เห็นด้วย 40 45.3 45.2 42.4 46.3 48.2 44.1 20 ภาค รวม กทม. กลาง เหนือ ต.อ.น ใต้
ข้อเสนอแนะ ร้อยละ รวม แสดงความคิดเห็น ไม่แสดงความคิดเห็น 100.0 แสดงความคิดเห็น 32.0 ปรับปรุงการบริการให้ดีกว่าปัจจุบัน ควรเบิกค่ารักษาพยาบาลจากสถานพยาบาลของรัฐ ได้ทั้งหมด ควรเบิกค่ารักษาพยาบาลจากโรงพยาบาล เอกชนได้ทั้งหมด ขยายสิทธิให้ครอบคลุมทั้งครอบครัวคู่สมรส ควรเพิ่มบุคลากรทางการแพทย์ ถ้าตัดสิทธิค่ารักษาพยาบาลควรเพิ่มเงินเดือนให้มากขึ้น อื่น ๆ 9.5 8.3 4.1 2.7 2.3 2.5 ไม่แสดงความคิดเห็น 68.0 หมายเหตุ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ