ร้านสหกรณ์โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จ. นครราชสีมา Model Create EVE ร้านสหกรณ์โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จ. นครราชสีมา
ร้านสหกรณ์ โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จำกัด อยู่ในบริเวณโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา อาคารจอดรถชั้นล่าง มีพื้นที่บริหารการขาย 442 ตารางเมตร
บริการเป็นหนึ่ง ลูกค้าพึงพอใจ ปัญหาร่วมแก้ไข ผลกำไรเกื้อหนุนกัน วิสัยทัศน์ บริการเป็นหนึ่ง ลูกค้าพึงพอใจ ปัญหาร่วมแก้ไข ผลกำไรเกื้อหนุนกัน
พันธกิจ 1.มุ่งมั่นพัฒนางานบริการ เพื่อความพึงพอใจให้แก่สมาชิกด้วยความรวดเร็วและถูกต้อง 2.บริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล พิทักษ์รักษา ผลประโยชน์ขององค์กรโปร่งใส ตรวจสอบได้ 3.เปิดโอกาสให้สมาชิก คณะกรรมการ และเจ้าหน้าที่ ได้รับการพัฒนา ความรู้เกี่ยวกับอุดมการณ์ หลักการ และวิธีการสหกรณ์ 4.สร้างความร่วมมือกับบุคลากรในร้านสหกรณ์ฯ เพื่อพัฒนาให้เป็น Hyper market
ปัญหาอุปสรรค 1.ทุนสำรอง ยังไม่อยู่ในเกณฑ์ดี 2.ร้านสหกรณ์ฯ ไม่มีที่ทำการ เป็นของตนเอง
การสร้างมูลค่าเพิ่มของ ร้านสหกรณ์โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา จำกัด มาตรฐานการบัญชี/การสอบบัญชี รายการ ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 สมาชิก (คน) 2,754 2,917 3,045 ทุนดำเนินงาน (ล้านบาท) 22.39 23.70 20.72 ทุนภายใน 19.39 19.98 18.08 ทุนภายนอก 3.00 3.72 2.64 ธุรกิจหลัก (ล้านบาท) 57.27 66.88 252.88 จัดหาสินค้ามาจำหน่าย 22.32 24.02 52.56 แผนปฏิบัติการสร้างมูลค่าเพิ่ม มีนโยบายเพิ่มทุนสำรอง โดยการจัดสรรมากกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำ ที่กฎหมายกำหนด ใช้ทุนสะสมซื้อสินทรัพย์ Action Plan พัฒนา ผลการดำเนินงาน ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 รายได้รวม (ล้านบาท) 58.01 67.64 53.13 รายจ่ายรวม (ล้านบาท) 53.41 62.55 48.80 กำไรสุทธิ (ล้านบาท) 4.60 5.08 4. เงินออมเฉลี่ย (บาท/คน) 1799.27 1737.37 0.10 หนี้สินเฉลี่ย (บาท/คน) 0.00 0.23 คุณภาพการควบคุมภายใน ดี เตือนภัยทางการเงิน ระดับเตือนภัยทางการเงิน - ทุนสำรอง - ลูกหนี้ - ค่าใช้จ่าย การขับเคลื่อนมูลค่าเพิ่ม Driver กลยุทธ์ Coopertive Member’s Relation management SIM แนวทางในการสร้างมูลค่าเพิ่ม วิเคราะห์ กลยุทธ์ประหยัดต้นทุน ความลึกของการวิเคราะห์ 2549 2550 2551 ¤ C A M E L S มากขึ้น ปกติ ปกติ วัด CAMELS CFSAWS:ss CFSAWS:ss CFSAWS:ss พอใช้ พอใช้ พอใช้ ดี ดี ดี
กลยุทธ์ Cooperative Member’s Relation management สร้างเครือข่ายธุรกิจและรักษาความสัมพันธ์กับทุกส่วนงานที่เกี่ยวข้อง กำหนดแผน ทุกเดือน สำรวจความต้องการสินค้าของลูกค้า กำหนดแผน (ทุกเดือน) เจาะตลาดกลุ่มผู้บริโภค(เน้นอาหารสุขภาพ) กำหนดแผนเพิ่มยอดขาย 5 % เปิดช่องทางจำหน่าย กำหนดแผน 5 ช่องทาง (แผ่นพับ,call center, ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต,กระดานข่าว,และการขยายการเปิดบริการ) กำหนดกลยุทธ์ส่งเสริมการขายพร้อมการรักษาความสัมพันธ์ของลูกค้า โดยการให้บัตรกำนัล ในรูปของการคืนกำไรจากยอดซื้อ กำหนดแผน ไตรมาสละ 1 ครั้ง การสร้างบรรยากาศในร้านและการจัดวางสินค้า กำหนดแผน กลยุทธ์ 5 ส. บริการจัดส่งสินค้า และบริหารจัดกระเช้าของขวัญ กำหนดแผน ผู้รับผิดชอบรายวัน ให้พนักงานได้รับการอบรม put the right man on the right jopเพื่อบริการลูกค้า ด้วยความรู้สึกเป็นกันเองและเป็นมิตรอย่างต่อเนื่อง กำหนดแผน ทุกเดือน
กลยุทธ์ประหยัดทุน(Economize) ด้านเงินสด ตัดสินใจลงทุนในแหล่งเงินทุนระยะสั้นสร้างผลตอบแทน กำหนดแผน เพิ่ม 5 %(นำเงินฝากสหกรณ์อื่น หรือ ธนาคารพาณิชย์) ด้านสินค้า กำหนดอายุเฉลี่ยสินค้า กำหนดแผน ให้ต่ำกว่า 10 วัน โดยเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน เพิ่มอัตราหมุนของสินค้า กำหนดแผน เพิ่มยอดขาย 5 % การซื้อสินค้า แบบ Just in time จากการจัดการฐานข้อมูลเป็นสถิติ เพื่อนำมาประกอบการพยากรณ์ กำหนดแผน เดือนละ 3 ครั้ง ใช้สินทรัพย์ให้เกิดประโยชน์เต็มที่หรือจำหน่ายออก กำหนดแผน ซ่อมบำรุง เป็นรายเดือน และรายไตรมาส