การผลิตสื่อ สำหรับ องค์กรการเมือง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
Advertisements

Profi le Prod uct Depl oy Outp ut VISION MISSION - สร้างความรู้ - วิจัย - บริการ - สร้างบัณฑิต นโยบาย - บริหาร 13 ข้อ - การเรียนการ สอน 3 ข้อ - พัฒนานักศึกษา.
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
รหัส หลักการตลาด.
BA2301 หลักการตลาด การสื่อสารทางการตลาด
Social Network Conference
ณ ห้องฟ้าตรัง 1 โรงแรม เอ็ม.พี. รีสอร์ท อ.เมือง จ.ตรัง
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
Lesson 2 Strategic Planning and The marketing Process &Market Segmentation,Targeting, and Positioning for Competitive Advantage.
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
Lesson 7 Promotion Mix.
หลักการตลาด บทที่ 13 การส่งเสริมการตลาด.
แบบฟอร์มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
Business Administration THONBURI UNIVERSITY
MARKETING A.Suchada Hommanee.
ระบบสารสนเทศเพื่อการปกครอง
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
บทที่ 1 บทนำว่าด้วยการสื่อสารการตลาด
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
Proposal / Profile : ทำเพื่อเสนอต่อสถานีโทรทัศน์ ขอช่องทางออกอากาศ
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
Integrated Marketing Communication : IMC
ความรู้พื้นฐานการเชื่อมโยงเครือข่าย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
หลักการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารงานขาย
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
กระบวนการการผลิต สื่อโฆษณา ประชาสัมพันธ์
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การเลื่อนเงินเดือนในระบบใหม่
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ดร.อ่องจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
บทที่ 1 บทนำ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
สปอตวิทยุ.
บทที่ 10 การตลาดทางตรง ความหมายของการตลาดทางตรง Direct marketing is the use of consumer-direct channels to reach and delivery goods and services to customers.
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
การผลิตรายการโทรทัศน์
บทที่ 3 การตลาด ความหมายของการตลาด
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
บทที่ 5 สื่อโฆษณาและการวางแผนการใช้สื่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การผลิตสื่อ สำหรับ องค์กรการเมือง การผลิตสื่อ สำหรับ องค์กรการเมือง สู่ดิน ชาวหินฟ้า

ภาพรวมของกิจกรรมการเรียน การสื่อสารการเมือง –มีการดำเนินกิจกรรม เผยแพร่–โฆษณา–ประชาสัมพันธ์–รณรงค์ ผ่าน เวทีความคิด –สร้างสรรค์ สงบ สันติ อหิงสา –ส่งเสริม จิตสำนึกสาธารณะ (จิตอาสา) จิตสำนึกการมีส่วนร่วม จิตสำนึกทางศีลธรรม –การเมืองภาคประชาชน การเมืองภาคเอกชน การเมืองภาครัฐ –ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความรับผิดชอบต่อสังคม CSR –การบริหารคน บริหารเวลา บริหารเงิน–เครื่องมือ–ทรัพยากร บริหารสื่อ

1. หน่วยงาน หน่วยงานในกระบวนการโฆษณา สำหรับงานการเมือง 1. หน่วยงาน –ผู้โฆษณา (Advertiser) –ตัวแทนโฆษณา (Advertising Agency) –สื่อโฆษณา (Media) –บริษัทวิจัย (Research Unit) –หน่วยงานราชการ (Government Sector) –คู่แข่งขัน (Competitors) –ตลาดเป้าหมาย (Target Group)

2. การวิเคราะห์ปัญหาและโอกาส หน่วยงานในกระบวนการโฆษณา สำหรับงานการเมือง 2. การวิเคราะห์ปัญหาและโอกาส วิเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ (กิจกรรมการเมือง นักการเมือง นโยบาย) วิเคราะห์สภาวะ การแข่งขัน (กิจกรรมการเมือง นักการเมือง นโยบาย) วิเคราะห์ กลุ่มเป้าหมาย -พฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย -ทัศนคติของกลุ่มเป้าหมาย -กลุ่มอ้างอิงของกลุ่มเป้าหมาย ข้อพิจารณาในการเลือก กลยุทธ์โฆษณา ประชาสัมพันธ์ -เหนือกว่าคู่แข่งขัน -มีความคงทน ไม่ล้าสมัย -ความแตกต่าง โดนใจผู้บริโภค น่าเชื่อถือ เป็นไปได้ -มีภาพลักษณ์ ที่สามารถสื่อสารผ่านสื่อโฆษณาได้ 1. หน่วยงาน 2. การวิเคราะห์ปัญหาและโอกาส วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ - รายละเอียดเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ เช่น ผลิตจากอะไร แหล่งผลิต กรรมวิธีการผลิต คุณสมบัติ วิธีการใช้ ส่วนผสม - ลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ เช่น รูปร่าง ขนาด ฉลาก ชื่อ กลิ่น สี บรรจุภัณฑ์ - ประโยชน์ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ เช่น ประโยชน์หลัก ประโยชน์รองของสินค้า - วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ว่าอยู่ในช่วงใดของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ - ข้อมูลด้านการตลาด เช่น ราคา การกระจายสินค้า และการสื่อสาร 4.4.2 วิเคราะห์สภาพตลาดและการแข่งขัน - สภาพตลาด เช่น ขนาดของตลาด แนวโน้มของตลาด และส่วนแบ่งทางการตลาด - การแข่งขัน เช่น คู่แข่งขันทางตรง และคู่แข่งขันทางอ้อม การโฆษณา งบประมาณการโฆษณา และใช้สื่อโฆษณา 4.4.3 วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย - ประชากรศาสตร์(Demographic) - ภูมิศาสตร์(Geographic) - ลักษณะจิตวิทยา(Psychographic) 4.4.4 สรุปปัญหาและโอกาส - พฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย เช่น ความต้องการ ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินใจซื้อ และ การบริโภคสื่อ - ทัศนคติของกลุ่มเป้าหมาย เช่น ทัศนคติที่มีต่อสินค้า ภาพพจน์ต่อสินค้า ความเชื่อ และการรับรู้ต่อสินค้า - กลุ่มอ้างอิงของกลุ่มเป้าหมาย 4.5 ข้อพิจารณาในการเลือกกลยุทธ์โฆษณา เป็นสิ่งที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน เป็นสิ่งที่มีความคงทน ไม่ล้าสมัยเร็วนัก ความแตกต่างหรือภาพลักษณ์นั้น ต้องเป็นสิ่งที่ผู้บริโภคปรารถนา ความแตกต่างหรือภาพลักษณ์นั้น ต้องน่าเชื่อถือ เป็นไปได้ และเชื่อมโยงกับตัวสินค้า เป็นสิ่งที่สามารถสื่อสารทางสื่อโฆษณาได้ 4.7 การแสวงประโยชน์ "เพื่อความ อยู่รอด อยู่ได้ อยู่ดี อยู่นาน" :สู่ดิน อยู่รอด=Vision (ใหม่+แปลก+จริง) + Mission (ประโยชน์+ประหยัด+ขยัน+ซื่อสัตย์+ยุติธรรม) + Vigilance ผู้ประกอบการลงมาทำเอง อยู่ได้=IMC+4P, อยู่ดี =Marketing Share, อยู่นาน=Loyalty+CSR+Research 4.8 การตลาดยุค SMEs ทำให้ Place มีบริบท และความหมายยิ่งไปกว่าที่จะหมายแค่สถานที่ กว้าง ยาว สูงเท่านั้น แต่หมายถึง -3Dimensions : width x wide x height -Point: standing & outstanding -Time: Quantity, Sequence, Point, Opportinuty, Relation, Time (ทฤษฎี Q-SPORT :อ.สู่ดิน) -Value -Competency การวางตำแหน่งผิด ส่งผลให้องค์ประกอบอื่น ในวงจรการสื่อสารผิดพลาดไปด้วย เหมือนเกมส์ Domino เช่น ผิดสัดส่วน (dimension mistake) ผิดที่ผิดทาง (point mistake) ผิดเวลา (time mistake) กำหนดคุณค่าไม่ตรง (value mistake) วางตำแหน่งหน้าที่ผิด (competency mistake) ดังนั้น place หรือ placing มีความหมายครอบคลุมตั้งแต่ -กายภาพ (physical objectivity) กว้าง ยาว สูง ตำแหน่ง น้ำหนัก สี เสียง แสง -จิตภาพ (phychological subjectivity) การบริหาร จัดการ -คุณภาพ (Quality Control) ซึ่งหมายรวมถึง คุณค่า-value มูลค่า และ ความสามารถ 4.9 การวางแผนในการใช้สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ -ศึกษาแผนงาน ดูกลุ่มเป้าหมาย วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย -ข้อจำกัดงบประมาณ -เลือกสื่อที่จะเข้าถึง สอดคล้อง กลุ่มเป้าหมายมากที่สุด -เลือกสื่อที่เราควบคุมได้มากที่สุด ทั้งในด้านค่าใช้จ่าย คุณภาพ ปริมาณ ความถูกต้อง ความถี่ -สร้างกระแสให้เป็นข่าว 4.10 การเลือกใช้สื่อสารมวลชนเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ -การซื้อพื้นที่โฆษณา Advertorial -การซื้อโฆษณาแฝง Infomercial หรือการให้ข่าว Business news -การลงโฆษณา Corporate Advertising -การเขียนบทความลงหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร Feature article -การสร้างกระแสกล่าวขวัญเชิงบวก Gossip -การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ Interviewing authority -การสัมภาษณ์ผู้บริหารองค์กร Interviewing executive -การสัมภาษณ์ลูกค้า หรือผู้ใช้สินค้า Interviewing testimonial -การส่งข่าวหรือการแจกข่าว News release -การเผยแพร่ภาพข่าว Photo release และ Pictorial -การจัดทำคอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์ หรือ วารสาร -การโทรศัพท์เข้ารายการ และการทำรายการวิทยุ Radio call in & Radio special program -การใช้ใบแทรก Supplement -การจัดรายการทีวี Talk show & TV special program -การสร้างสื่อมวลชนสัมพันธ์ Media relations -การใช้สื่อสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ Special Publications -การจัดกิจกรรมพิเศษ Special Evients -การใช้สื่อบุคคล Personal media -การใช้สื่อวัตถุสิ่งของ Specialty Advertisement -การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ Electronic media (CD, website, e-mail) -สื่อกิจกรรม พิธีกรรม ประเพณี Folk media -ศูนย์กิจกรรม Activities Center (ห้องสาธิต ศูนย์ฝึกอบรม ห้องแสดงสินค้า) -การใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ผ่านสื่อปราศรัย 1.2 บทบาทและหน้าที่ ในกระบวนการสื่อสาร ของสื่อสิ่งพิมพ์ 1.2.1 ฐานะผู้ส่งสาร (Sender, Source) -บอกวัตถุประสงค์ information, teaching, education, attention, entertain -บอกเนื้อหา facts, truth -รับผิดชอบเนื้อหา และวิธีการนำเสนอ การเขียน การเลือกช่องทางเผยแพร่ -วิเคราะห์ผู้รับสารให้ถูกตัว ถูกกลุ่ม ถูกกาละ ตรงตามต้องการ/สนใจ 1.2.2 ฐานะสาร (Message) สารประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญ คือ -รหัสสาร (Code message) -เนื้อหา (Content message) -การจัดสาร (Message treatment) -“ตอกไข่ ปรุง ใส่ข้าว” 1.2.3 ฐานะสื่อ (Channel) -ส่งไปยังผู้รับอย่างรวดเร็ว และจำนวนมาก (สื่อสารมวลชน) -มองเห็น อ่านได้ -คงทนถาวรกว่าสื่ออื่น -ส่งไปยังกลุ่มเป้าหมายได้ดีกว่าสื่ออื่น -ทบทวนข่าวสารได้หลายครั้ง โดยไม่จำกัดเวลา สถานที่ จำนวนครั้ง -ราคาถูก 1.2.4 ฐานะผู้รับสาร (Reciever) -ความเป็นปัจเจกบุคคล (เป็นตัวของตัวเอง) -ความเป็นกลุ่มก้อน (เป็นสมาชิกกลุ่ม) -ความเป็นสื่อกลาง -เป็นผู้ใช้ หรือบริโภคข่าวสาร 1.3 บทบาทและหน้าที่ ภายใต้ระบบของสังคม และการเมือง Authoritarianism Libertarianism Social responsibility บาทหน้าที่ต่อชนชั้นกลาง 1.4 บทบาทและหน้าที่ ต่อการพัฒนาทุนทางสังคม ความหมาย องค์ประกอบ 9 ประการ (1) คน และพลังมวลชน (2) ระบบ แบบแผน กิจกรรม กิจการ พิธีกรรม (3) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาชน (4) ความรู้ และความจริง (5) การสื่อสาร (6) สุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางจิตวิญญาณ สุขภาวะทางสังคม (7) วัฒนธรรม (8) ทุนที่เป็นวัตถุดิบ อุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ (9) นวัตกรรมทางสังคม 1.5 บทบาทหน้าที่ต่อการส่งเสริมการส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาชน (อ่าน บทความประกอบ เรื่อง “วิกฤติความเป็นกลางทางการเมืองในยุคปัญญาเฉโก” www.truexpert.info) 1.6 กฎหมาย นโยบาย และระบบการผลิต ที่มีอิทธิพลต่อบทบาทและหน้าที่ของสื่อสิ่งพิมพ์ การออกแบบและการเตรียมการผลิตสื่อ สำหรับงานโฆษณาและประชาสัมพันธ์ 1. กระบวนการออกแบบสื่อ 1.1 แนวคิด การสร้างสรรค์ -รูปแบบ -เนื้อหา -แนวเขียน 1.2 ส่วนประกอบ 1.3 บุคลากร 1.4 การเตรียมการ (1) ขั้นที่ 1 การรับทราบความต้องการของผู้บริหาร หรือผู้เป็นเจ้าของสื่อ - กลุ่มผู้รับสารเป้าหมาย (ลูกค้าเป้าหมาย) - แผนการขยายกิจการสื่อ - ช่องทางการเผยแพร่ - บุคลิกภาพของสื่อ (2) ขั้นที่ 2 การค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม แล้วนำมาวิเคราะห์ - ข้อมูลการตลาด และคู่แข่ง - ข้อมูล ประวัติทีมงานบริหาร นักเขียน เจ้าของสื่อ - ข้อมูลกลุ่มลูกค้าผู้รับสาร - เนื้อหาของสื่อโดยรวม รสนิยม ยุคสมัย ระดับภาษา (3) ขั้นที่ 3 การกำหนด พิจารณา ตัดสิน โครงการร่วมกัน - ชื่อ และชนิดของสื่อวิทยุโทรทัศน์ - สถานการณ์ทางการตลาด และการแข่งขันด้านสื่อสิ่งพิมพ์ ในปัจจุบัน แนวโน้ม เพื่อกำหนดนโยบาย และลักษณะเนื้อหา - สภาพปัจจุบัน และปัญหา (วิเคราะห์ SWOT Analysis) - วัตถุประสงค์ - กลุ่มผู้รับสารเป้าหมาย (ลักษณะ Demographic: อายุ อาชีพ การศึกษา พื้นที่การรับสาร ลักษณะ Psychographic: ความชอบ-ชัง พฤติกรรมการบริโภคสื่อ อิทธิพลของ Influence, Byer, User, Decission) - ความคิดรวบยอด และเหตุผลสนับสนุน - บุคลิกภาพของสื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน์สมัยใหม่ (4) ขั้นที่ 4 การกำหนดรูปแบบ (5) ขั้นที่ 5 การจัด Script 2. ขั้นเตรียมการผลิต ถ่ายทำ 3. ขั้นการตัดต่อ ปรับปรุง 4. ขั้นนำเสนอ และเผยแพร่

3. ปริศนา Political Communication Place (พื้นที่การสื่อสารการเมือง) หน่วยงานในกระบวนการโฆษณา สำหรับงานการเมือง 3. ปริศนา Political Communication Place (พื้นที่การสื่อสารการเมือง) -4Dimensions : width x length x height x not-self -Point : จุดยืน จุดยืดหยุ่น -Time : Quantity, Sequence, Point, Opportunity, Relation, Time (ทฤษฎี Q-SPORT :อ.สู่ดิน) -Value : คุณสมบัติ ภาพลักษณ์ การกระทำ -Competency : technology, applicability, risk, crisis, (รู้เสพ รู้สร้าง รู้สุข) 1. หน่วยงาน 2. การวิเคราะห์ปัญหาและโอกาส วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ - รายละเอียดเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ เช่น ผลิตจากอะไร แหล่งผลิต กรรมวิธีการผลิต คุณสมบัติ วิธีการใช้ ส่วนผสม - ลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ เช่น รูปร่าง ขนาด ฉลาก ชื่อ กลิ่น สี บรรจุภัณฑ์ - ประโยชน์ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ เช่น ประโยชน์หลัก ประโยชน์รองของสินค้า - วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ว่าอยู่ในช่วงใดของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ - ข้อมูลด้านการตลาด เช่น ราคา การกระจายสินค้า และการสื่อสาร 4.4.2 วิเคราะห์สภาพตลาดและการแข่งขัน - สภาพตลาด เช่น ขนาดของตลาด แนวโน้มของตลาด และส่วนแบ่งทางการตลาด - การแข่งขัน เช่น คู่แข่งขันทางตรง และคู่แข่งขันทางอ้อม การโฆษณา งบประมาณการโฆษณา และใช้สื่อโฆษณา 4.4.3 วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย - ประชากรศาสตร์(Demographic) - ภูมิศาสตร์(Geographic) - ลักษณะจิตวิทยา(Psychographic) 4.4.4 สรุปปัญหาและโอกาส - พฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย เช่น ความต้องการ ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินใจซื้อ และ การบริโภคสื่อ - ทัศนคติของกลุ่มเป้าหมาย เช่น ทัศนคติที่มีต่อสินค้า ภาพพจน์ต่อสินค้า ความเชื่อ และการรับรู้ต่อสินค้า - กลุ่มอ้างอิงของกลุ่มเป้าหมาย 4.5 ข้อพิจารณาในการเลือกกลยุทธ์โฆษณา เป็นสิ่งที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน เป็นสิ่งที่มีความคงทน ไม่ล้าสมัยเร็วนัก ความแตกต่างหรือภาพลักษณ์นั้น ต้องเป็นสิ่งที่ผู้บริโภคปรารถนา ความแตกต่างหรือภาพลักษณ์นั้น ต้องน่าเชื่อถือ เป็นไปได้ และเชื่อมโยงกับตัวสินค้า เป็นสิ่งที่สามารถสื่อสารทางสื่อโฆษณาได้ 4.7 การแสวงประโยชน์ "เพื่อความ อยู่รอด อยู่ได้ อยู่ดี อยู่นาน" :สู่ดิน อยู่รอด=Vision (ใหม่+แปลก+จริง) + Mission (ประโยชน์+ประหยัด+ขยัน+ซื่อสัตย์+ยุติธรรม) + Vigilance ผู้ประกอบการลงมาทำเอง อยู่ได้=IMC+4P, อยู่ดี =Marketing Share, อยู่นาน=Loyalty+CSR+Research 4.8 การตลาดยุค SMEs ทำให้ Place มีบริบท และความหมายยิ่งไปกว่าที่จะหมายแค่สถานที่ กว้าง ยาว สูงเท่านั้น แต่หมายถึง -3Dimensions : width x wide x height -Point: standing & outstanding -Time: Quantity, Sequence, Point, Opportinuty, Relation, Time (ทฤษฎี Q-SPORT :อ.สู่ดิน) -Value -Competency การวางตำแหน่งผิด ส่งผลให้องค์ประกอบอื่น ในวงจรการสื่อสารผิดพลาดไปด้วย เหมือนเกมส์ Domino เช่น ผิดสัดส่วน (dimension mistake) ผิดที่ผิดทาง (point mistake) ผิดเวลา (time mistake) กำหนดคุณค่าไม่ตรง (value mistake) วางตำแหน่งหน้าที่ผิด (competency mistake) ดังนั้น place หรือ placing มีความหมายครอบคลุมตั้งแต่ -กายภาพ (physical objectivity) กว้าง ยาว สูง ตำแหน่ง น้ำหนัก สี เสียง แสง -จิตภาพ (phychological subjectivity) การบริหาร จัดการ -คุณภาพ (Quality Control) ซึ่งหมายรวมถึง คุณค่า-value มูลค่า และ ความสามารถ 4.9 การวางแผนในการใช้สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ -ศึกษาแผนงาน ดูกลุ่มเป้าหมาย วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย -ข้อจำกัดงบประมาณ -เลือกสื่อที่จะเข้าถึง สอดคล้อง กลุ่มเป้าหมายมากที่สุด -เลือกสื่อที่เราควบคุมได้มากที่สุด ทั้งในด้านค่าใช้จ่าย คุณภาพ ปริมาณ ความถูกต้อง ความถี่ -สร้างกระแสให้เป็นข่าว 4.10 การเลือกใช้สื่อสารมวลชนเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ -การซื้อพื้นที่โฆษณา Advertorial -การซื้อโฆษณาแฝง Infomercial หรือการให้ข่าว Business news -การลงโฆษณา Corporate Advertising -การเขียนบทความลงหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร Feature article -การสร้างกระแสกล่าวขวัญเชิงบวก Gossip -การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ Interviewing authority -การสัมภาษณ์ผู้บริหารองค์กร Interviewing executive -การสัมภาษณ์ลูกค้า หรือผู้ใช้สินค้า Interviewing testimonial -การส่งข่าวหรือการแจกข่าว News release -การเผยแพร่ภาพข่าว Photo release และ Pictorial -การจัดทำคอลัมนิสต์ในหนังสือพิมพ์ หรือ วารสาร -การโทรศัพท์เข้ารายการ และการทำรายการวิทยุ Radio call in & Radio special program -การใช้ใบแทรก Supplement -การจัดรายการทีวี Talk show & TV special program -การสร้างสื่อมวลชนสัมพันธ์ Media relations -การใช้สื่อสิ่งพิมพ์เฉพาะกิจ Special Publications -การจัดกิจกรรมพิเศษ Special Evients -การใช้สื่อบุคคล Personal media -การใช้สื่อวัตถุสิ่งของ Specialty Advertisement -การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ Electronic media (CD, website, e-mail) -สื่อกิจกรรม พิธีกรรม ประเพณี Folk media -ศูนย์กิจกรรม Activities Center (ห้องสาธิต ศูนย์ฝึกอบรม ห้องแสดงสินค้า) -การใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ผ่านสื่อปราศรัย 1.2 บทบาทและหน้าที่ ในกระบวนการสื่อสาร ของสื่อสิ่งพิมพ์ 1.2.1 ฐานะผู้ส่งสาร (Sender, Source) -บอกวัตถุประสงค์ information, teaching, education, attention, entertain -บอกเนื้อหา facts, truth -รับผิดชอบเนื้อหา และวิธีการนำเสนอ การเขียน การเลือกช่องทางเผยแพร่ -วิเคราะห์ผู้รับสารให้ถูกตัว ถูกกลุ่ม ถูกกาละ ตรงตามต้องการ/สนใจ 1.2.2 ฐานะสาร (Message) สารประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญ คือ -รหัสสาร (Code message) -เนื้อหา (Content message) -การจัดสาร (Message treatment) -“ตอกไข่ ปรุง ใส่ข้าว” 1.2.3 ฐานะสื่อ (Channel) -ส่งไปยังผู้รับอย่างรวดเร็ว และจำนวนมาก (สื่อสารมวลชน) -มองเห็น อ่านได้ -คงทนถาวรกว่าสื่ออื่น -ส่งไปยังกลุ่มเป้าหมายได้ดีกว่าสื่ออื่น -ทบทวนข่าวสารได้หลายครั้ง โดยไม่จำกัดเวลา สถานที่ จำนวนครั้ง -ราคาถูก 1.2.4 ฐานะผู้รับสาร (Reciever) -ความเป็นปัจเจกบุคคล (เป็นตัวของตัวเอง) -ความเป็นกลุ่มก้อน (เป็นสมาชิกกลุ่ม) -ความเป็นสื่อกลาง -เป็นผู้ใช้ หรือบริโภคข่าวสาร 1.3 บทบาทและหน้าที่ ภายใต้ระบบของสังคม และการเมือง Authoritarianism Libertarianism Social responsibility บาทหน้าที่ต่อชนชั้นกลาง 1.4 บทบาทและหน้าที่ ต่อการพัฒนาทุนทางสังคม ความหมาย องค์ประกอบ 9 ประการ (1) คน และพลังมวลชน (2) ระบบ แบบแผน กิจกรรม กิจการ พิธีกรรม (3) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาชน (4) ความรู้ และความจริง (5) การสื่อสาร (6) สุขภาวะทางกาย สุขภาวะทางจิต สุขภาวะทางจิตวิญญาณ สุขภาวะทางสังคม (7) วัฒนธรรม (8) ทุนที่เป็นวัตถุดิบ อุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ (9) นวัตกรรมทางสังคม 1.5 บทบาทหน้าที่ต่อการส่งเสริมการส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาชน (อ่าน บทความประกอบ เรื่อง “วิกฤติความเป็นกลางทางการเมืองในยุคปัญญาเฉโก” www.truexpert.info) 1.6 กฎหมาย นโยบาย และระบบการผลิต ที่มีอิทธิพลต่อบทบาทและหน้าที่ของสื่อสิ่งพิมพ์ การออกแบบและการเตรียมการผลิตสื่อ สำหรับงานโฆษณาและประชาสัมพันธ์ 1. กระบวนการออกแบบสื่อ 1.1 แนวคิด การสร้างสรรค์ -รูปแบบ -เนื้อหา -แนวเขียน 1.2 ส่วนประกอบ 1.3 บุคลากร 1.4 การเตรียมการ (1) ขั้นที่ 1 การรับทราบความต้องการของผู้บริหาร หรือผู้เป็นเจ้าของสื่อ - กลุ่มผู้รับสารเป้าหมาย (ลูกค้าเป้าหมาย) - แผนการขยายกิจการสื่อ - ช่องทางการเผยแพร่ - บุคลิกภาพของสื่อ (2) ขั้นที่ 2 การค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม แล้วนำมาวิเคราะห์ - ข้อมูลการตลาด และคู่แข่ง - ข้อมูล ประวัติทีมงานบริหาร นักเขียน เจ้าของสื่อ - ข้อมูลกลุ่มลูกค้าผู้รับสาร - เนื้อหาของสื่อโดยรวม รสนิยม ยุคสมัย ระดับภาษา (3) ขั้นที่ 3 การกำหนด พิจารณา ตัดสิน โครงการร่วมกัน - ชื่อ และชนิดของสื่อวิทยุโทรทัศน์ - สถานการณ์ทางการตลาด และการแข่งขันด้านสื่อสิ่งพิมพ์ ในปัจจุบัน แนวโน้ม เพื่อกำหนดนโยบาย และลักษณะเนื้อหา - สภาพปัจจุบัน และปัญหา (วิเคราะห์ SWOT Analysis) - วัตถุประสงค์ - กลุ่มผู้รับสารเป้าหมาย (ลักษณะ Demographic: อายุ อาชีพ การศึกษา พื้นที่การรับสาร ลักษณะ Psychographic: ความชอบ-ชัง พฤติกรรมการบริโภคสื่อ อิทธิพลของ Influence, Byer, User, Decission) - ความคิดรวบยอด และเหตุผลสนับสนุน - บุคลิกภาพของสื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน์สมัยใหม่ (4) ขั้นที่ 4 การกำหนดรูปแบบ (5) ขั้นที่ 5 การจัด Script 2. ขั้นเตรียมการผลิต ถ่ายทำ 3. ขั้นการตัดต่อ ปรับปรุง 4. ขั้นนำเสนอ และเผยแพร่

การสื่อสาร ไตรภาคีสื่อสารมวลชน ผู้บริโภค สิ่งที่ต้องทำ: 1. ร่วมสัมมนาประสบการณ์จากการฝึกงานของนักศึกษารุ่นพี่ 2. สร้างเข็มมุ่งใหม่ New dimension thinking "เข็มมุ่งของเวลา คือ การรักษาความเที่ยงตรง เข็มมุ่งของการแสวงหา คือ การค้นพบสิ่งที่พึงพอใจ" -มาตรฐานรูปแบบ (การแต่งกาย) -มาตรฐานเวลา (มาเรียน/ทำงาน ตรงเวลา) -มาตรฐานปริมาณ (ได้เนื้องานในกำหนดเวลา) -มาตรฐานคุณภาพ 4A(กล้า อดกลั้น พยายาม สามารถ audacity ashamed attempt ability) -มาตรฐานคุณค่า (ดี. ถูก. จริง. ประโยชน์. แก้ปัญหาได้ เป็นไปได้.) 3. ทำรายงานเชิงวิจัย กระบวนการวิเคราะห์ 1. กำหนด paradigm ให้กับตนเอง สำรวจพื้นฐานความคิด ภูมิปัญญา วิสัยทัศน์ ของตัวเอง เลือกที่เป็น สัมมาทิฐิ 2. เลือกทฤษฎีให้เหมาะสม และที่สากลยอมรับ 3. ค้นหาข้อเท็จจริง แยกหมวดหมู่ ให้ตรงกับทฤษฎี 4. วิเคราะห์เปรียบเทียบว่า เหมือน แตกต่าง หรือ สัมพันธ์ อย่างไรกับ ทฤษฎี 4. มีองค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง -ความหมาย ความสำคัญ -สร้างตัวชี้วัดและแนวทางปฏิบัติ ให้กับตนเอง 5. มีความรู้และทักษะในสาขาวิชา -ทำรายงาน -สอบภาคความรู้ 6. มีกลยุทธ์ หรือชิ้นงาน -เขียนโครงการผลิตชิ้นงาน -ผลิตชิ้นงาน ผู้ผลิต ผู้ซื้อโฆษณา

กระบวนการสร้างสรรค์งานโฆษณา 1. การรับข้อมูล 2. การวิจัย 3. การวางแผนยุทธวิธี 4. การตัดสินใจเลือกยุทธวิธี 5. การผลิตงานโฆษณา get briefs research strategy decision production

ข้อมูลจาก องค์กรการเมือง สาร สาระ ผลิตภัณฑ์ ทางการเมือง การสร้างสรรค์งานโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทางการเมือง ข้อมูลจาก องค์กรการเมือง สาร สาระ ผลิตภัณฑ์ ทางการเมือง -กิจกรรม นักการเมือง นโยบาย -คุณสมบัติ ประโยชน์ คุณค่า -ข้อเด่น ข้อด้อย -บุคลิกภาพ -ค่านิยม ความนิยม -คู่แข่งขัน get briefs research strategy decision production

-ปัญหา แนวทางสร้างสรรค์งาน -วิจัย ตัวสาร สาระ ที่โฆษณา การสร้างสรรค์งานโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทางการเมือง การวิจัย (Research) -ปัญหา แนวทางสร้างสรรค์งาน -วิจัย ตัวสาร สาระ ที่โฆษณา -วิจัย ผู้รับสาร-กลุ่มเป้าหมาย (สมาชิก, ทั่วไป) -วิจัย พื้นที่ ที่เข้าถึง มุมอับ พื้นที่เสี่ยง -วิจัย สื่อโฆษณา -วิจัย ปัญหาจากคู่แข่งขัน get briefs research strategy decision production

วางแผนยุทธวิธี (Strategic Planning) วางแผนทาง ด้าน ภาพลักษณ์ ความนิยม การสร้างสรรค์งานโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทางการเมือง วางแผนยุทธวิธี (Strategic Planning) วางแผนทาง ด้าน ภาพลักษณ์ ความนิยม วางแผนสร้างสรรค์งาน สื่อโฆษณา เลือกช่องทาง วางยุทธวิธีในการคิดสร้างสรรค์ วางแผนซื้อสื่อ get briefs research strategy decision production

แผนสื่อ Broadcast media: การซื้อเวลา การสร้างสรรค์งานโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทางการเมือง แผนสื่อ Broadcast media: การซื้อเวลา Single Sponsorship เป็นผู้อุปถัมภ์เพียงผู้เดียวในรายการ Multiple Sponsorship เป็นผู้อุมปถัมภ์ร่วมกันหลายรายการ Participating Advertiser ซื้อเวลาสปอตโฆษณาย่อยร่วมกัน get briefs research strategy decision production

แผนสื่อ Broadcast media: รูปแบบสื่อ สื่อวิทยุ radio การสร้างสรรค์งานโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทางการเมือง แผนสื่อ Broadcast media: รูปแบบสื่อ สื่อวิทยุ radio ระบบการส่งวิทยุกระจายเสียงที่อยู่ในเชิงพาณิชย์ 1. ระบบ AM (Amplitude modulation) 2. ระบบ FM (Frequency modulation) LOOSE SPOT โฆษณาที่ใช้คั่นระหว่างรายการ -ความยาว 30, 45, 60 วินาที get briefs research strategy decision production

แผนสื่อ Broadcast media: รูปแบบสื่อ FEATURE การโฆษณาแบบสารคดี การสร้างสรรค์งานโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทางการเมือง แผนสื่อ Broadcast media: รูปแบบสื่อ FEATURE การโฆษณาแบบสารคดี -กำหนดรูปแบบรายการได้ตามต้องการ -บรรจุ Loose Spot ได้ 1 ตัว -ระบุ + ชื่อสถานีวิทยุ + ชื่อผู้อุปถัมภ์ + ชื่อช่วงรายการ get briefs research strategy decision production

แผนการผลิต /ลำดับขั้นงาน 1. Project เขียนโครงการ ข้อเสนอการสร้าง การสร้างสรรค์งานโฆษณา ประชาสัมพันธ์ทางการเมือง แผนการผลิต /ลำดับขั้นงาน 1. Project เขียนโครงการ ข้อเสนอการสร้าง 2. Teamwork เตรียมทีมงาน 3. Radio/TV Script - Storyboard เขียนบท 4. Direction / Producing กำกับเสียง-แสง-การแสดง 5. Editing การตัดต่อลำดับภาพ ลำดับเสียง 6. Burn to CD/DVD ---> on air 7. Measurement การประเมินงานการผลิต get briefs research strategy decision production

แผนกลยุทธ์ตลาดการเมือง ของ พรรคการเมือง แผนกลยุทธ์ตลาดการเมือง ของ พรรคการเมือง เขาทำกันอย่างไร ศึกษากรณีอดีตพรรคไทยรักไทย

ยุคสมัยของพรรคการเมือง: ปัจจัยการกำหนดแผนและกลยุทธ์สื่อ Party Concept “พรรคคือศูนย์กลาง” พรรคสำคัญกว่าบุคคล เน้นนโยบาย และภาพลักษณ์ของพรรค Product Concept “บุคคลคือศูนย์กลาง” เน้นจุดเด่นของหัวหน้าพรรค และผู้สมัครรับเลือกตั้ง Selling Concept “การโน้มน้าวจูงใจ ให้นิยมในบุคคล/พรรค” เน้นการสร้างกระแสนิยม (Fever) Marketing Concept “การตอบสนองความต้องการของประชาชน” เน้นนโยบาย “ประชานิยม” SR Concept (Social Responsibility) “คุณภาพประชาชนคือศูนย์กลาง” มุ่งสร้างคุณภาพ ศักยภาพชีวิต ของคน เน้นนโยบาย “ทุนทางสังคม” (Social I/O Resource) และสมดุลของระบบนิเวศ หรือเศรษฐกิจพอเพียง

3 Elements Political Marketing ปัจจัย 3 ประการ ของการตลาดทางการเมือง Access Voter Needs การเข้าถึงความต้องการของผู้ใช้สิทธิ์เลือกตั้ง Identity Voters Segment การกำหนดลักษณะของกลุ่มผู้ใช้สิทธิ์เลือกตั้ง Profile Voters ข้อมูลของผู้ใช้สิทธิ์เลือกตั้ง

Political Marketing Tools องค์ประกอบ 4 ประการ ของ เครื่องมือทางการตลาด สำหรับการรณรงค์ทางการเมือง Market / Voter Segmentation การจำแนกส่วนทางการตลาดของผู้เลือกตั้ง Candidate / Party Positioning การวางตำแหน่งของผู้สมัคร - พรรค Marketing Mix 4Ps ส่วนผสมทางการตลาด Environmental Forces สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเลือกตั้ง

การจำแนก ผู้ใช้สิทธิ์เลือกตั้ง (กลุ่มเป้าหมาย) ของพรรคไทยรักไทย กลุ่มเป้าหมาย (Target Segment) นโยบายที่นำเสนอ “คนรากหญ้า” -เกษตรกร -ผู้ใช้แรงงาน -พักชำระหนี้เกษตรกร ลูกค้ารายย่อย ธ.ก.ส. 3 ปี -กองทุนหมู่บ้านละ 1 ล้านบาท -หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) -30 บาท รักษาทุกโรค -เกษตรทันสมัย “คนทำมาหากิน” -ผู้ขายแรงงาน -ค้าขายรายย่อย -คนจนในเมือง -ธนาคารคนจน (ทำสงครามกับความยากจน) -โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพคนตกงาน (หลักสูตรระยะสั้น) -โครงการเอื้ออาทร (เครื่องใช้สอย เงินผ่อน บ้าน รถ) -ปราบปรามยาเสพติด “ผู้เสพ=คนป่วย ผู้ค้า=อาชญากร” -30 บาท รักษาทุกโรค “คนกินเงินเดือน” -ชนชั้นกลาง -ผู้ประกอบการ SMEs -พัฒนาตลาดเงิน ตลาดทุน (ลดภาษีนิติบุคคล) -ธนาคาร SME, SMEs -กระทรวงพัฒนาผู้ประกอบการ -ปฏิรูปการศึกษา -ปราบปรามคอรัปชั่น และการแปรรูปวิสาหกิจ -ครอบครัวเข้มแข็ง บทบาทสตรี

Strategy Product Campaign Platform ส่วนผสมทางการตลาดของ 4Ps Marketing Mix 4Ps Product Campaign Platform Push Marketing Mass Effort Grass-roots Effort Strategy Pull Marketing Mass Media Polling Research

Model การตลาดทางการเมือง ของ Brouce I Newman จุดมุ่งเน้น (Condidate Focus) การรณรงค์ทางการตลาด (The Marketing Campaign) สภาพแวดล้อม ที่มีผลต่อการเลือกตั้ง (Environment Forces) A. แนวคิดของ พรรคการเมือง (Party Concept) การจำแนกส่วนทางการตลาดผู้เลือกตั้ง (Market Voter Segmentational) A. การเข้าถึง ความต้องการ ของผู้ลงคะแนนเสียง (Access Voter Needs) B. ข้อมูลของ ผู้ลงคะแนน (Profile Voters) C. กำหนด กลุ่มผู้ลงคะแนน (Identity Voters Segment) การวางตำแหน่ง ผู้สมัคร / พรรค (Candidate Party Positioning) A. จุดแข็งจุดอ่อน ของผู้สมัคร (Access Candidate Strengths & Weaknesses) B. การเข้าใจคู่แข่ง (Access Competitive) C. กลุ่มเป้าหมาย (Target Segments) D. ภาพลักษณ์ (Establish-Image) แบบแผนกลยุทธ์ และการปฏิบัติ (Strategy Formulation & Implementation) A.The 4Ps - Product: ผลิตภัณฑ์ Campaign Platform - Push Marketing: การตลาดที่อาศัยปัจจัยผลัก Marketing Gross-roots Efforts - Pull Marketing: การตลาดที่อาศัยปัจจัยดึง Mass Media - Polling Research: การวิจัย B. การควบคุมและ การพัฒนาหน่วยงาน (Organization Development & Control) A. เทคโนโลยี (Technology) 1. The Computer 2. Television 3. Derect Mail B. แนวคิดเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ (Product Concept) B. การเปลี่ยนโครงสร้าง (Structure Shift) 1. Primary & Convention rules 2. Financial Regulations 3. Debates C. แนวคิดด้านจุดขาย (Selling Concept) C. อิทธิพลทาบการเปลี่ยนแปลง จากกลุ่มที่มีผลกระทบ 1. Candidate 2. Consultant 3. Polister 4. Media 5. Political Party 6. Political Action Committee Internetgroups 7. Votes D. แนวคิดด้าน การตลาด (Marketing Concept) การรณรงค์ทางการเมือง (The Political Campaign)

กรอบงานการผลิตสื่อ องค์กรการเมือง กรอบงานการผลิตสื่อ องค์กรการเมือง

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (1) วิเคราะห์ผู้อ่าน + เจ้าของสื่อ ผู้อ่าน = ประชาชน -เพศ อายุ ที่อยู่ อาชีพ การศึกษา (Demographics Background) -ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจ ความพึงพอใจ (Psychology Background) -พฤติกรรมเปิดรับสื่อ บริโภคสื่อ (Exposure Behavior)

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (1) วิเคราะห์ผู้อ่าน + เจ้าของสื่อ (Analysis: SWOT, Positioning, Branding) เจ้าของสื่อ = องค์กรการเมือง / พรรคการเมือง -อุดมการณ์ (Ideology) และจุดยืน (Standing-Positioning) -วิสัยทัศน์ กระบวนทัศน์ (Vision & Paradigm) -ความรู้ความสามารถ เทคนิคการผลิต (Production Processing) -ความต้องการของผู้ผลิต

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (2) ออกแบบสร้างสรรค์ (Creation & Design) -ข้อความ ภาพประกอบ -รูปทรง สี เส้น ลวดลาย พื้น ตำแหน่ง จุดเน้น -ขนาดแผ่นป้าย -โปรแกรม (3) เตรียม -แผนงาน โครงการผลิต -งบประมาณ + SPONSER -ทีมงาน

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (4) ผลิต -เครื่องมือ อุปกรณ์ (Hardware) -โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) -ศิลปกรรม (Dummy / Lay Out / Artwork) -พิมพ์ -พับ เย็บ ตัด -บรรจุภัณฑ์ แยกส่ง

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (5) ติดตั้ง (Creation & Design) -จุดติดตั้ง (ติดตั้ง ปิดป้าย แจก) -ดูแลรักษา -เก็บ รื้อถอน (6) ประเมินผล -สังเกต / บันทึก / ภาพถ่าย-วิดีโอ -สัมภาษณ์ -รายงาน ออกแบบ - ผลิต - ติดตั้ง - เก็บ - ประเมินผล

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (1) วิเคราะห์ตนเอง + ผู้ฟัง (2) ภาพลักษณ์-อัตลักษณ์ -หลักเกณฑ์ และตัวชี้วัด ของภาพลักษณ์ -ข้อกำหนดกิจกรรม ราย /วัน /สัปดาห์ /เดือน /ปี -แผนพัฒนาศักยภาพและคุณภาพ อบรม สัมมนา ศึกษา ดูงาน วิทยากร ปฏิบัติกร รับเชิญ

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (3) แสดงตัวต่อสาธารณะ / เป็นข่าว (Public Appearance) -เวทีปราศรัย -พบปะประชาชนแบบเคาะประตูบ้าน (House-to-house selling) -พบปะประชาชนแบบใช้ผลิตภัณฑ์เป็นสื่อ (Merchandising) -จัดงานวันเกิด บุคคล พรรค -ประชาสัมพันธ์สื่อสารมวลชน -กิจกรรมสาธารณะ ฯลฯ

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (4) ประเมินผล -แบบเปิดเผย แบบสอบถาม วิจัย โทรศัพท์, SMS Web Board, Guest Book, Pool -แบบซ่อนเร้น จดหมายลับ, บัตรสนเท่ห์, คำร้องเรียน เสียงวิพากษ์จากสื่อมวลชน ปฏิกิริยาจากคู่แข่ง

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุ กระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (1) วิเคราะห์ผู้จัด + ผู้รับฟัง (2) ออกแบบสร้างสรรค์รายการ -องค์ประกอบรายการ สัดส่วนเนื้อหารายการ สารคดี + ธรรมคดี + บันเทิงคดี 30% 30% 40% 50% 30% 20% -ประเภทรายการ ข่าวสาร (Information) การศึกษา (Education) บันเทิง (Entertainment) จำแนกกลุ่มผู้ฟัง (Group Programme)

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุ กระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT รูปแบบรายการ - รายการพูดคุย (Straight Talk) *talk show - รายการสนทนา (Conversational) - รายการสัมภาษณ์ (Interview) - รายการอภิปราย (Discussion) - รายการสารคดี (Documentary) - รายการนิตยสารทางอากาศ (Magazine) - รายการข่าว (News) - รายการบรรยายเหตุการณ์ (Commentary) - รายการตอบปัญหา (Quiz) - รายการเพลง (Music) - รายการละครวิทยุ (Radio Play) - รายการปกิณกะ (Varity) - รายการสาระละคร (Docu-Drama)

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุ กระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (3) เตรียม -แผนงานโครงการผลิต -ทีมงาน -งบประมาณ + SPONSER -ซื้อพื้นที่เวลาออกอากาศ -จัดเอง จัดร่วม จ้าง

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุ กระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (4) ลงมือผลิต -เขียน Script / Outline -ผลิต SPOT -เลือก MUS, SFX, VO, SONG, SPOT -On Air, Tape/CD (5) ประเมินผล -แบบสอบถาม วิจัย -โทรศัพท์, SMS -Mail Box -Web Board, Guest Book, Pool

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV-SAT-MATV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (1) วิเคราะห์ผู้จัด + ผู้รับฟัง (2) ออกแบบสร้างสรรค์รายการ -องค์ประกอบรายการ สัดส่วนเนื้อหารายการ สารคดี + ธรรมคดี + บันเทิงคดี -ประเภทรายการ ข่าวสาร (Information) การศึกษา (Education) บันเทิง (Entertainment) จำแนกกลุ่มผู้ฟัง (Group Programme)

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV-SAT-MATV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (3) เตรียม -แผนงานโครงการผลิต -ทีมงาน -งบประมาณ + SPONSER -ช่องทางการแพร่ภาพ CHANNEL TV, MATV, Cable TV, SAT VCD/DVD -จัดเอง จัดร่วม จ้าง

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV-SAT-MATV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (4) ลงมือผลิต -เขียน Script / Outline -เลือก MUS, SFX, VO, SONG, SPOT -ผลิต SPOT -เผยแพร่ (5) ประเมินผล -แบบสอบถาม วิจัย -โทรศัพท์, SMS -Mail Box -Web Board, Guest Book, Pool

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST ภาพยนตร์วีดิทัศน์ FILM VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (1) วิเคราะห์ผู้จัด + ผู้รับฟัง (2) ออกแบบสร้างสรรค์ (Creation & Design) -ภาพยนตร์ข่าว -ภาพยนตร์สารคดี -ภาพยนตร์การศึกษา -ภาพยนตร์ประชาสัมพันธ์ -ภาพยนตร์โฆษณา -ภาพยนตร์บันเทิง

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST ภาพยนตร์วีดิทัศน์ FILM VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (3) เตรียม -แผนงานโครงการผลิต -ทีมงาน AE., CD., AD., ... -งบประมาณ + SPONSER -ช่องทางการแพร่ภาพ โรงภาพยนตร์ CHANNEL TV, MATV, Cable TV, SAT VCD/DVD -จัดเอง จัดร่วม จ้าง

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST ภาพยนตร์วีดิทัศน์ FILM VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (2) ผลิต (Production) -ก่อนการผลิต -ระหว่างผลิต -หลังการผลิต

กรอบงานการผลิตสื่องานการเมือง สื่อสิ่งพิมพ์ PRINT สื่อบุคคล PERSON สื่อวิทยุกระจายเสียง RADIO BROADCAST สื่อวิทยุโทรทัศน์ TV BROADCAST สื่อภาพยนตร์-วีดิทัศน์ FILM/VIDEO-CD สื่อสารสนเทศ IT (1) วิเคราะห์ผู้จัด + ผู้รับฟัง (2) ออกแบบสร้างสรรค์ (Creation & Design) -ข้อความ ภาพประกอบ -รูปทรง สี เส้น ลวดลาย พื้น ตำแหน่ง จุดเน้น -ขนาดแผ่นป้าย -โปรแกรม (3) เตรียม -โปรแกรมคอมพิวเตอร์ -พิมพ์ -ประกอบ (แผ่น, ชุด, ม้วน)