จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Homeward& Rehabilitation system
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างและใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
กรณีตัวอย่าง: การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
บทเรียน Best Practice ของระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
สวัสดีครับ.
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
ระบบอันพึงประสงค์และการจัดบริการ อาชีวอนามัยในสถานีอนามัย
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
ระบบHomeward& Rehabilation center
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
กลุ่ม 4 รพช.( ไม่มีแพทย์ ดำเนินการ ) นำเสนอโดย นางสมรัก ชักชวน รพ. ตรอน จ. อุตรดิตถ์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
นายแพทย์ไพจิตร์ วราชิต รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
บุคลากรของเรา นวก.สาธารณสุข 3 คน พยาบาลเวชปฏิบัติ 2 คน
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
นิยาม ศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ (Psychosocial Clinic) หน่วยบริการระดับโรงพยาบาลชุมชนที่มีการจัดบริการดูแล ช่วยเหลือทางสังคมจิตใจทุกกลุ่มวัย โดยมีองค์ประกอบ.
โครงการในปีงบประมาณ 2558.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
สรุปประเด็น เรื่อง แนวคิดการจัดการรายกรณีเพื่อการดูแลต่อเนื่อง

การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ผู้สูงอายุ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ เกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว ( LTC ) ใช้ในการประเมินการดำเนินงาน มี 4 ข้อ 1 มีชมรมผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 2 มีอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน 3 มีบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านที่มีคุณภาพ (Home Health Care) 4 มีระบบการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มที่2 (ติดบ้าน ) และผู้สูงอายุกลุ่มที่3 ( ติดเตียง ) ผ่านเกณฑ์ หมายถึง จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ

เกณฑ์การประเมินชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ ข้อมูลทั่วไป กรรมการ การระดมทุน กฎกติกา กิจกรรม

เกณฑ์อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุ ตามโครงสร้างหลักสูตร 420 ชั่วโมง หรือ 70 ชั่วโมง ปัจจุบันมีหน่วยงานที่จัดหลักสูตร : กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข : กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน : กระทรวงศึกษาธิการ ผู้มีประสบการณ์การดูแลผู้สูงอายุอย่างน้อย1 ปี อบรมต่อจากรัฐกำหนดไม่น้อยกว่า70ชม ถือว่าเป็นเสมือนหนึ่ง อบรม420ชม

เกณฑ์การประเมินการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านโดยโรงพยาบาล (Home Health Care) 1 มีนโยบาย 2 มีฐานข้อมูลภาวะสุขภาพผู้สูงอายุและผู้ดูแลในชุมชน 3 ทีมสุขภาพมีการประเมินปัญหาและให้ความรู้และการวางแผนเยี่ยม 4 พัฒนาบุคลากร 5 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 6 ทีมให้คำปรึกษาที่ชัดเจน 7 การจัดหาวัสดุอุปกรณ์สนับสนุนการดูแลที่บ้าน 8 ตารางปฏิบัติงานของจนท 9 การเยี่ยมและติดตามต่อเนื่องตามแผน 10 ระบบส่งต่อและติดตาม 11 ระบบการรายงาน 12 การอบรมผู้ดูแล/อาสาสมัครผู้ดูแล ผ่านการประเมินทุกข้อ

เกณฑ์การประเมินระบบการดูแลผู้สูงอายุกลุ่มที่2 และผู้สูงอายุกลุ่มที่3 1 มีนโยบายการจัดระบบการดูแลทั้ง2กลุ่ม 2 มีคณะกรรมการบูรณาการในท้องถิ่น 3 มีแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน 4 มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในชุมชน 5 มีระบบเฝ้าระวังสุขภาพ 6 การคัดกรอง ประเมิน ส่งต่ออย่างเป็นระบบ 7 มีผู้ดูแลหรืออาสาสมัครผ่านการอบรม 8 มีแผนปฏิบัติการการดูแล / เยี่ยมเป็นทีม 9 มีทีมสุขภาพให้คำปรึกษาและประเมินผล 10 มีการสนับสนุนอุปกรณ์ฟื้นฟู / รถส่งต่อโดยชุมชน 11 มีการดูแลฟื้นฟูอย่างต่อเนื่อง 12 มีการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี

ขอขอบคุณ ในความร่วมมือทุกท่าน สวัสดี