การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
Advertisements

ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
เล่าเรื่อง หัวใจแห่งความสำเร็จ การส่งเสริมสุขภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
กลุ่มการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ด้อยโอกาส สำนักส่งเสริมและพิทักษ์
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
ประเด็น วิเคราะห์แนวคิดพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นิยาม Policy: ทิศทางของการกระทำที่ชัดเจนที่ได้ชี้นำและกำหนดการตัดสินใจ
นโยบายด้านบริหาร.
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
คำแนะนำการใช้ SLM ร่วมระหว่าง กรมอนามัยและควบคุมโรค  การจัดการทั่วไป 1. สสจ. จัดประชุมเพื่อพัฒนา SLM ร่วมเพิ่มเติม ผู้ เข้าประชุมประกอบด้วยคณะผู้แทนศูนย์อนามัย.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
พรบ.ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน
กรอบความคิดของ กลุ่ม 7 งานตามพันธกิจกรมอนามัย. Health Index สร้าง Health Agenda : ในชีวิตประจำวัน ( ถูก / ไม่ถูก, เกิดแล้ว / ยังไม่เกิด, จวนจะเกิด / กำลังจะเกิด.
องค์กรไร้พุง โรงพยาบาลภูเวียง.
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
มีคุณธรรม นำวิชาการ สู่มาตรฐานสากล
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา.
โครงการอบรมพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กรมอนามัย เพื่อการขับเคลื่อนกลยุทธ์ “ การสร้างการมีส่วนร่วมและขีด ความสามารถของภาคีเครือข่าย ” เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง โดย อาจารย์สง่า ดามาพงษ์

ทำไมต้องเป็น องค์กรไร้พุง ทำไมต้องเป็น องค์กรไร้พุง อ้วนลงพุง อันตรายต่อชีวิต อ้วนลงพุง บั่นทอนสุขภาพชีวิต และภาวะเศรษฐกิจ ในโลก อ้วนลงพุง เกิดในกลุ่มวัยทำงาน ลดอ้วนลดพุง คนในองค์กร/ชุมชนจะลดการเจ็บป่วย และการตาย

เป็นองค์กรที่เข้าร่วม โครงการภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง องค์กรไร้พุง คืออะไร เป็นองค์กรที่เข้าร่วม โครงการภาคีร่วมใจ คนไทยไร้พุง องค์กรทั่วไป : หน่วยงานรัฐและเอกชน องค์กรพื้นที่ชุมชน : เทศบาล อบจ. อบต.

ประโยชน์ที่เป็นองค์กรไร้พุง ได้รับการสนับสนุนด้านวิชาการ ได้เข้าร่วมกิจกรรม บุคลากรในองค์กรมีความรู้และทักษะ 3 อ. ลดการเจ็บป่วยของคนในองค์กร นำไปสู่ลดค่ารักษาและลางาน ผลผลิตของงานในองค์กรสูงขึ้น สร้างภาพลักษณ์องค์กร

องค์กรที่เข้าร่วม มีบุคลากรหรือคนมากกว่า 50 คนขึ้นไป ผู้นำองค์กร / ชุมชนต้องยินยอม ยินดีจะร่วมมือ

องค์กรไร้พุงต้นแบบ อย่างน้อยจังหวัดละ 10 แห่ง เทศบาล / อบต. อย่างน้อย 6 แห่ง หน่วยงานรัฐ เอกชน อย่างน้อย 3 แห่ง โรงเรียน อย่างน้อย 1 แห่ง

สถานที่สมัคร ต่างจังหวัด สมัครที่ สสจ. กทม.สมัครที่ กรมอนามัย

ขั้นตอนการขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง ขั้นเตรียมการ การดำเนินงาน การติดตาม ควบคุม กำกับ สรุปผลการดำเนินงาน

เตรียมการ แต่งตั้งแกนนำและคณะทำงาน กำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติงาน เผยแพร่นโยบาย สำรวจสถานการณ์อ้วน และพฤติกรรม เตรียมสื่อ สิ่งสนับสนุน ประสานงานกับศูนย์อนามัยและ สสจ.

เปิดตัวโครงการองค์กรไร้พุง เป็นการสร้างกระแสให้องค์กร เป็นการประกาศความมุ่งมั่น ทำให้เกิดการยอมรับและร่วมมือ กรรมการเปิดตัวตามความเหมาะสม

พัฒนาคน / บุคลากร คนในองค์กร / ชุมชนที่ต้องพัฒนา ผู้บริหาร / กรรมการ แกนนำหรือคนต้นแบบไร้พุง พนักงาน / คนในองค์กร / ชุมชน

การสื่อสาร ผ่านสื่อต่าง ๆ 3 ประเด็น 1. อ้วนอันตราย 2. 3 อ. พิชิตพุง 3. คนต้นแบบไร้พุง

สร้างสิ่งแวดล้อมเอื้อลดพุง สร้างบรรยากาศด้วยอารมณ์ สร้างสิ่งแวดล้อมด้านอาหาร สร้างสิ่งแวดล้อมด้านออกกำลังกาย กำหนดกฎ ระเบียบ มาตรการ ทางสังคม

สร้างแรงจูงใจ เพื่อให้เกิดความมุ่งมั่น แรงจูงใจมีหลายรูปแบบ นำคนลดพุงสำเร็จมาสื่อสาร

การสนับสนุนจากส่วนกลาง ฝึกอบรมวิทยากรระดับศูนย์เขต สนับสนุนการบริหารจัดการ สนับสนุนสื่อ สนับสนุนการถอดบทเรียน สนับสนุนงบประมาณ

สื่อองค์กรไร้พุง คู่มือวิทยากร (วิชาการ) คู่มือองค์กรไร้พุง คู่มือบริหารจัดการโภชนาการ คู่มือพิชิตอ้วน พิชิตพุง(ประชาชน) แบบประเมินตนเอง โปสเตอร์ CD สื่อต้นแบบ

โครงสร้างการสื่อสาร กรมอนามัย ศูนย์อนามัยเขต สสจ. โรงเรียน เทศบาล อบต. ชุมชน หน่วยงาน ประชาชน

ขอขอบคุณและสวัสดี