รายงานผลการดำเนินงาน กลุ่มพัฒนาวิชาการปศุสัตว์
การติดตามการดำเนินงานวิจัย
ประสิทธิภาพการปิดโครงการในระบบ NRPM ปีงบประมาณ โครงการที่ได้รับจัดสรร งบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท) โครงการที่เสร็จสิ้น งบประมาณที่ใช้ (บาท) โครงการที่ยังไม่เสร็จสิ้น งบประมาณ (บาท) ประสิทธิภาพ 2551 93 86,593,000 72 67,830,300 21 18,762,700 77 % 78 % 2552 134 89,589,200 99 69,403,200 35 20,186,000 74 % 77 % 2553 114 54,538,200 79 41,232,000 35 13,306,200 69 % 76 % 2554 88 48,301,200 55 28,547,800 33 19,753,400 63 % 59 % 2555 85 41,596,700 26 10,340,600 59 31,256,100 31 % 25 %
% การดำเนินงานวิจัยปี 2556 หน่วยงาน จำนวนโครงการ (81) % ที่ดำเนินการได้ตามแผน สพพ. 15 48.29 สอส. 23 62.64 สทป. 16 68.71 สสช. 9 69.78 สสส. 69.81 หน่วยงาน จำนวนโครงการ % ที่ดำเนินการได้ตามแผน สพส. 1 84.00 ปศข.3 2 63.64 ปศข.5 82.50 ปศข.6 50.00 ปศข.8 46.43 ปศข.9 75.00
จำนวนผลงานวิจัย/วิชาการที่นำไปใช้ประโยชน์ หน่วยงาน จำนวนเรื่อง สทป. 2 สสช. สพพ. ปศข.9 1 สตส. หน่วยงาน จำนวนเรื่อง สคบ. 1 สทช. 2 สอส. สสส. ปศข.3 รวม 15
ประชุมผู้อำนวยการสำนัก/กอง เพื่อหารือและกำหนดประเด็นงานวิจัยกรมปศุสัตว์ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ผู้อำนวยการสำนัก/กอง ให้ความสำคัญกับการดำเนินงานวิจัย ดังนี้ ทุกชิ้นงานวิจัย/วิชาการของสำนัก/กอง จะต้องเป็นงานที่ตอบโจทย์และใช้ประโยชน์ได้จริง ติดตามการดำเนินงานวิจัย/วิชาการให้เป็นไปตามแผน ผลักดันให้มีการนำผลงานวิจัย/วิชาการของหน่วยงานไปใช้ประโยชน์
ด้านผลิตสัตว์ (สพพ. , สทป. , สอส.) ผลการประชุม ด้านผลิตสัตว์ (สพพ. , สทป. , สอส.) กำหนดความชัดเจนเรื่องพันธุ์สัตว์ เร่งดำเนินการเรื่องการขึ้นทะเบียนพันธุ์สัตว์ วิจัยเพื่อกำหนดมาตรฐานชั้นคุณภาพเนื้อสำหรับประเทศไทย การจัดตั้ง งานนิติวิทยาศาสตร์สัตว์ วิจัยปัญหาเร่งด่วนด้านอาหารสัตว์ วิจัยเพื่อการผลิตพืชอาหารสัตว์ใช้ภายในประเทศและส่งออก
ด้านสุขภาพสัตว์ (สสช., สคบ., กสก., สทช.) ผลการประชุม ด้านสุขภาพสัตว์ (สสช., สคบ., กสก., สทช.) การวิจัยโรคติดต่อระหว่างคน-สัตว์ รวมทั้งโรคจากสัตว์ที่เป็นอาหาร พัฒนาวิธีการตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์และชุดทดสอบ เฝ้าระวังการกลายพันธุ์ของเชื้อโรค เฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการโรคต่างถิ่น โรคอุบัติใหม่-ซ้ำ โดยประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ผลการประชุม ด้านสุขภาพสัตว์ (สสช. , สคบ. , กสก., สทช.) ดำเนินงานเชิงบูรณาการ เช่น ศึกษาการผลิตแอนติเจน test kit ความชุก ความเสี่ยง การระบาด ฯลฯ วิจัยความต้องการของตลาดวัคซีนภายในและประเทศกลุ่ม AEC การวิจัยแบบบูรณาการเพื่อพัฒนาระบบการควบคุมการเคลื่อนย้ายสัตว์-ซากสัตว์-อาหารสัตว์ การศึกษาความพึงพอใจผู้มีส่วนได้-เสียในการบังคับใช้กฎหมาย ระเบียบฯลฯ การศึกษาวิเคราะห์เส้นทางการนำเข้า-ส่งออกโค-กระบือ
ผลการประชุม ด้านมาตรฐาน (สพส. , สตส.) ศึกษาการพัฒนาเมืองเกษตรสีเขียว ศึกษาติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา-โลหะหนักในห่วงโซ่อาหารสัตว์และเนื้อไก่และสุกร ศึกษาการพัฒนาเมืองเกษตรสีเขียว การศึกษาผลการใช้ Ractopamine ในสุกรขุน โครงการเฝ้าระวังการใช้สารเคมีกำจัดเห็บและการตกค้างของสารเคมีกำจัดเห็บในน้ำนมโค การศึกษาการตกค้างของกำมะถัน และ ลูกเหม็น ในน้ำผึ้งกับระยะเวลาหยุดใช้ในการกำจัดไรผึ้ง การศึกษาความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้-เสีย การศึกษาเพื่อพัฒนาระบบ e-service
ด้านมาตรฐาน (สพส. , สตส.) ผลการประชุม พัฒนาวิธี และทดสอบความใช้ได้ของวิธีวิเคราะห์ การวิจัยเพื่อพัฒนาห้องปฏิบัติการอาหารสัตว์ และระบบการบริหารห้องปฏิบัติการฯ การผลิตชุดตรวจสอบ วัสดุอ้างอิง (Reference material) สำหรับอาหารสัตว์
ด้านสังคม (สสส. , กพก.) ผลการประชุม ศึกษาวิจัย รวบรวมองค์ความรู้ เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ศึกษาวิจัย เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ ศึกษาวิจัย เพื่อสร้างความเข้มแข็งของเกษตรกร/เครือข่าย/องค์กรเกษตรกร รายชนิดสัตว์ ศึกษาวิจัย เพื่อสนับสนุนงานพระราชดำริ
แผนการดำเนินการบริหารงานวิจัยกรมปศุสัตว์ กวป. กำหนดกรอบแนวทางวิจัยรายชนิดสัตว์ มิ.ย. – ก.ค. 56 จัดประชุมนักวิจัยกรมปศุสัตว์รายชนิดสัตว์ ได้แก่ ได้แก่ โคเนื้อ โคนม กระบือ สุกร และแพะ เพื่อกำหนดแผนงาน/โครงการวิจัยรายชนิดสัตว์ปีงบประมาณ 2558-2559 ส.ค. 56 จัดประชุมผู้อำนวยการสำนัก/กอง (ด้านผลิตสัตว์ สุขภาพสัตว์ มาตรฐานและสังคม) เพื่อทราบความต้องการของผู้บริหารสำนัก/กองในเรื่องการวิจัย ต.ค.– พ.ย. 56 จัดประชุมผู้ประกอบการ ผู้มีส่วนได้-เสีย เพื่อหาโจทย์วิจัยรายชนิดสัตว์ ธ.ค. 56 กวป. รวบรวมข้อมูลจัดทำเป็นบทสรุปโครงการวิจัยรายชนิดสัตว์ (เร่งด่วน ระยะสั้น ระยะยาว) และนำเสนอผู้บริหารเพื่อเห็นชอบและผลักดัน
จบการนำเสนอ