ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ ปรับปรุงขั้นตอนการดูแลผู้ป่วยเบาหวานในหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามแนวทาง Lean Production System ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
ความสำคัญ มารับบริการร้อยละ15 ในอนาคตมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ขบวนการดูแลหลายขั้นตอน/หน่วยงาน
วัตถุประสงค์ วิเคราะห์กระบวนการการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ลดขั้นตอน/การปฏิบัติงานที่สูญเปล่า
ทีมประกอบด้วย อาจารย์แพทย์และแพทย์ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน หัวหน้าและเจ้าหน้าที่หน่วยบริการปฐมภูมิ รพ.สงขลานครินทร์
สำรวจสภาพ ก่อนทำ Lean 19 ขั้นตอน ระยะเวลา 125 นาที มีขั้นตอนปฏิบัติตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงจนผู้ป่วยรับยา 19 ขั้นตอน ระยะเวลา 125 นาที Total Value added time 31 นาที Total turn around time 125 นาที
Pre-LEAN 1.ยื่นคิว(1) 2.รอตรวจสอบสิทธิ(7) 3.ตรวจสอบสิทธิ(1) 4.รอ(5) 5.DTX(5) 7.ชั่งน้ำหนัก วัด V/S(7) 6. รอ(10) 9.รอ(25) 8.ลงทะเบียน(1) 10.ตรวจ(8) 11.รอ(5) 12.Incharged Nurse(3) 13. รอ(5) 15.เดินทาง(5) 17.การเงิน(1) 16.รอ(5) 14.พบ Ed. Nurse(10) 18.รอ(20) 19.รับยา(1)
Total Value added time 31 นาที Total turn around time 125 นาที Pre-Lean ประสิทธิภาพโดยเฉลี่ย = ระยะเวลาที่ให้คุณค่าโดยเฉลี่ย รอบเวลาทั้งหมดโดยเฉลี่ย = 31/125 = 24.8% Total Value added time 31 นาที Total turn around time 125 นาที
การปรับปรุงเพื่อลดความสูญเปล่า(ECRS) ขั้นตอน ขบวนการ Combine Re arrange Eliminate Simplify รวมขั้นตอนการวัดV/S DTX ในขั้นตอนเดียวกัน ปรับระบบนัดไม่รอผลLab ผู้ป่วยเบาหวาน8.00-9.00น. ปรับระบบนัดรอผลLab ผู้ป่วยเบาหวาน10.00-11.00น. สิทธิข้าราชการ ประกันสังคม สุขภาพถ้วนหน้าไม่ต้อง ผ่านการเงิน ผู้ช่วยพยาบาล/พยาบาลวัดV/S DTX พร้อมกัน ณจุดเดียวกัน
กระบวนการแก้ปัญหา Lean1 Workload Leveling เดิม ใหม่ นัดมาเวลาไม่แน่นอน (8.00 – 12.00 น.) นัดเป็นช่วงเวลา 8.00-9.00น. ตรวจผู้ป่วยเบาหวาน ข้อดี ผู้ป่วยอดอาหาร ได้รับยาเร็วเนื่องจากบางOPDยังไม่มีการตรวจ
Pre-LEAN 1.ยื่นคิว(1) 2.รอตรวจสอบสิทธิ(7) 4.รอ(5) 3.ตรวจสอบสิทธิ 5.DTX(5) 7.ชั่งน้ำหนัก วัด V/S(7) 6. รอ(2) 9.รอ(10) 8.ลงทะเบียน(1) 10.ตรวจ(8) 11.รอ(2) 12.Incharged Nurse(3) 13. รอ(5) 15.เดินทาง(5) 17.การเงิน(1) 16.รอ(5) 14.พบ Ed. Nurse(10) 18.รอ(10) 19.รับยา(1)
Total Value added time 31 นาที Total turn around time 70 นาที Post-Lean ประสิทธิภาพโดยเฉลี่ย = ระยะเวลาที่ให้คุณค่าโดยเฉลี่ย รอบเวลาทั้งหมดโดยเฉลี่ย = 31/70 = 44.29% Total Value added time 31 นาที Total turn around time 70 นาที
Result Pre- Lean Post- Lean1 1.Process 2.Time 3.Distance 4. Staff 5. Patient Value 19 Steps 125 min 40m RN 4 ลูกจ้าง 4 31x100/125 = 24.8% 14 Steps 70 min 30m 31x100/70 =44.29%
ขอบคุณครับ ขอพลังจงอยู่กับท่าน