การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การประเมินผลองค์กร การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดย มนัส กำเนิดมณี กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 11 ธันวาคม 2546
กรอบ การพัฒนา ระบบราชการ
พรบ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5 ) พ.ศ. 2545 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการไทย (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2550) พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
การพัฒนาการปฏิบัติราชการและการประเมินผล (ระดับท้าทาย)
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
กลไกและวิธีการจัดทำคำรับรอง
กลไกและวิธีการจัดทำคำรับรอง
กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ
RBM
สู่การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ปรับวัฒนธรรมองค์การ สู่การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์
วิสัยทัศน์ “ กรมชลประทาน มุ่งมั่นพัฒนาและจัดการน้ำเพื่อสนับสนุนการผลิต เสริมสร้างคุณภาพชีวิต และพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ”
แผนยุทธศาสตร์ ชลประทาน การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
RBM กรมชลประทาน
การพัฒนา RBM 15 มกราคม 2545 ลงนามในข้อตกลงร่วมกับ ก.พ. 26 กันยายน 2545 ก.พ. ส่งมอบระบบแก่กรมชลประทาน 31 ธันวาคม 2545 ออกแบบฟอร์ม ร่างคู่มือแล้วเสร็จ
11 มิถุนายน 2546 เริ่มดำเนินการจัดเก็บข้อมูล การพัฒนา RBM 6 มีนาคม 2546 พิมพ์คู่มือเสร็จ 11 มิถุนายน 2546 เริ่มดำเนินการจัดเก็บข้อมูล
การพัฒนา RBM ฝึกอบรม 2,000 คน 11 มิ.ย. 46 16-20 มิ.ย. 46 VCD เผยแพร่
โครงสร้าง RBM 4 ด้าน 10 ปัจจัยหลัก 18 ตัวชี้วัด 4 ด้าน 10 ปัจจัยหลัก 18 ตัวชี้วัด กำหนดโดยคณะทำงาน RBM จำนวน 24 คน (คำสั่ง 1604/44 24ธ.ค.44)
BSC BSC BSC BSC
ขั้นตอน การรายงานข้อมูล
หน่วยรับผิดชอบข้อมูล คณะกรรมการดำเนินงานระบบ RBM การรายงานข้อมูล หน่วยรับผิดชอบข้อมูล หน่วยรวบ รวมข้อมูล กอง แผนงาน 27 สำนัก/กอง 6 สำนัก/กอง คณะกรรมการดำเนินงานระบบ RBM
แผนปฏิบัติการ หน่วยงานรับผิดชอบข้อมูล
แผนปฏิบัติการ หน่วยงานรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือ คณะกรรมการดำเนินงานระบบ RBM (อธช. เป็นประธาน) 2.คณะทำงานรวบรวมข้อมูล 6 คณะ 3.เจ้าหน้าที่ RBM ประจำสำนัก/กอง
RBM ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ - RBM กรมชลประทาน สำนักงาน ก.พ.ร. ผู้ใช้จากกระทรวงต่างๆ ผู้ใช้อื่นๆ LAN INTERNET RBM User Modem RBMS Server สำนักงาน ก.พ.ร. กรมชลประทาน ผู้ใช้จากกระทรวงต่างๆ databa se
RBM Application www.ocsc.go.th/rbms
องค์กรที่ใช้ RBM มุ่งผลสัมฤทธิ์ มากกว่าจำนวนกิจกรรมที่ทำ 2.บริหารกลยุทธ์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.มีกลไกสื่อสารและรายงานผลที่มีประสิทธิภาพ
องค์กรที่ใช้ RBM 4.มีเป้าหมาย และติดตามผลสัมฤทธิ์ของงานร่วมกัน 5.เกิดการเชื่อมโยงระหว่างผลงาน และการจัดสรรงบประมาณ
องค์กรที่ใช้ RBM 6.การประเมินผลงานที่เป็นธรรม เป็นระบบและโปร่งใส 7.มีผู้รับผิดชอบที่กำหนดชัดเจนในแต่ละเป้าหมาย 8.นำข้อมูลมาปรับปรุงงาน
RBM กับ การจัดงบประมาณ
งบประมาณแบบเดิม การจัด ยึดวงเงินปีที่ผ่านมา 2.แผนยุทธศาสตร์ และแผนงบประมาณ แยกออกจากกันโดยสิ้นเชิง
งบประมาณแบบเดิม การจัด 3.ขึ้นอยู่กับการต่อรอง /การเมือง 4.ผู้ปฏิบัติมีส่วนร่วมน้อย
RBM กับการจัดงบประมาณ 1. เป็นการจัดงบประมาณเพื่อเสริมกลยุทธ์ที่แท้จริง 2. ลดการต่อรองเรื่องงบประมาณ
Learning organization RBM กับการจัดงบประมาณ 3. เกิดความร่วมมือมากขึ้นในหน่วยงาน 4. เป็นกระบวนการเรียนรู้และสร้างคน System thinking Change management Learning organization
ปัญหา และอุปสรรค RBM
ปัญหาและอุปสรรค ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง 2.รู้สึกไม่มั่นคง เพราะมีการวัดผลงานอย่างจริงจัง 3.อ้างว่าวัดผลงานลำบาก
ปัญหาและอุปสรรค 4. วัฒนธรรมเป็นอุปสรรค 5. อ้างเรื่องระเบียบราชการ 6. คิดว่าเป็นแฟชั่นชั่วคราว
ปัญหาและอุปสรรค 7. จนท. รู้สึกว่าเป็นการจับผิด 8. จนท. รู้สึกว่าไม่ได้อะไรกลับมา
เงื่อนไข ความสำเร็จ
เงื่อนไขความสำเร็จ ผู้บริหารระดับสูง มีความเข้าใจและสนับสนุน ผู้บริหารมีความรู้ในการวางแผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์ ชลประทาน Vision แผนยุทธศาสตร์ ชลประทาน SPBB RBM Performance Based Budgeting Results Based Management
6 สัญญาณ เตือนองค์กร ให้ทบทวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
สัญญาณเตือนองค์กร 1. จนท. ไม่เข้าใจวิสัยทัศน์ พันธกิจและกลยุทธ์ขององค์กร
สัญญาณเตือนองค์กร 2. แม้แผนปฏิบัติการไม่สอดคล้องกับกลยุทธ์ ก็ไม่มีใครทราบ 3. แม้ไม่ทำตามกลยุทธ์ ก็ไม่มีใครสนใจ
สัญญาณเตือนองค์กร 5. ไม่มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์มานานแล้ว 4. อธิบายไม่ได้ว่า ผลงานดี เป็นผลมาจาก กลยุทธ์ที่ดีหรือไม่ 5. ไม่มีการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์มานานแล้ว
สัญญาณเตือนองค์กร 6. ไม่เคยมีการทบทวนผลการดำเนินงาน ตามกลยุทธ์ที่วางไว้
ความล้มเหลว RBM
ความล้มเหลว RBM ผู้บริหาร ไม่ยอมบริหารตามระบบ ไม่ร่วมกำหนดทิศทาง ไม่ร่วมสัมมนา ไม่กระจายงบประมาณตาม กลยุทธ์ ไม่ติดตามประเมินผล KPI อย่างจริงจัง
5 สิ่งที่ต้องเปลี่ยน
สิ่งที่ต้องเปลี่ยน 1. ผู้บริหารระดับสูง ต้องมีความมุ่งมั่น เอาจริง 2. ผู้บริหารทุกระดับเปลี่ยนสไตล์การทำงาน
สิ่งที่ต้องเปลี่ยน 3. ผู้บริหารเปลี่ยนสไตล์การอ่านรายงาน 4. ผู้บริหารต้องเปลี่ยนสไตล์การประชุมใหม่
สิ่งที่ต้องเปลี่ยน 5. จนท. ต้องปรับตัวเข้ากับระบบใหม่
ผลการดำเนิงาน ระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 (Results Based Management - RBM) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2546 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงสร้าง RBM 4 ด้าน 10 ปัจจัยหลัก 18 ตัวชี้วัด 4 ด้าน 10 ปัจจัยหลัก 18 ตัวชี้วัด กำหนดโดยคณะทำงาน RBM จำนวน 24 คน (คำสั่ง 1604/44 24ธ.ค.44)
BSC BSC BSC BSC
4 วิสัยทัศน์ Perspective
10 วิสัยทัศน์ CSFs
18 วิสัยทัศน์ KPIs
ก. ด้านภาย นอกองค์กร External Perspective ภายนอกองค์กร BSC 3 CSFs 6 KPIs
CSF. 1 BSC ภายนอกองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) ผู้ใช้น้ำมีความเข้าใจ มีจิตสำนึกในการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด 1 Kpi
KPI 1.1 1 BSC ร้อยละของกลุ่มผู้ใช้น้ำที่ไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงของกลุ่มผู้ใช้น้ำ ภายนอกองค์กร แบบฟอร์ม: RBM1 RBM2 ความถี่การวัด: ทุก 6 เดือน ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.
KPI 1.1 CSF. 1
CSF. 2 BSC ภายนอกองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกระดับให้ความร่วมมือ ในการพัฒนาแหล่งน้ำและบริหารจัดการน้ำ 3 Kpi
KPI 2.1 2 BSC ร้อยละของโครงการที่ส่วนใหญ่ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่เข้าร่วมในการศึกษาและวางโครงการเห็นด้วยกับโครงการ ภายนอกองค์กร แบบฟอร์ม: RBM3 RBM4 ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี สบก. >>กผง.
KPI 2.1
KPI 2.2 3 BSC ร้อยละของกลุ่มผู้ใช้น้ำของโครงการที่เข้ามามีส่วนร่วมในการวาง แผนและบริหารจัดการน้ำ ภายนอกองค์กร แบบฟอร์ม: RBM5 RBM6 ความถี่การวัด: ทุก 6 เดือน ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.
KPI 2.2
KPI 2.3 4 BSC จำนวนครั้งที่กรมให้การสนับสนุนโดยการจัดการน้ำเพื่อแก้ไขปัญหาด้านนิเวศวิทยาสิ่งแวดล้อม ภายนอกองค์กร แบบฟอร์ม: RBM7 ความถี่การวัด: ทุก 6 เดือน ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.
KPI 2.3 CSF. 2
CSF. 3 ผู้ใช้น้ำในเขตพื้นที่ชลประทานได้รับน้ำอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม BSC ภายนอกองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) ผู้ใช้น้ำในเขตพื้นที่ชลประทานได้รับน้ำอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม 2 Kpi
KPI 3.1 ร้อยละของพื้นที่ชลประทานที่ได้รับน้ำต่อพื้นที่เป้าหมาย 5 BSC ภายนอกองค์กร ร้อยละของพื้นที่ชลประทานที่ได้รับน้ำต่อพื้นที่เป้าหมาย แบบฟอร์ม: RBM8 RBM9 ความถี่การวัด: ทุกฤดูฝน / แล้ง ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.
KPI 3.1
KPI 3.2 6 BSC ร้อยละของกลุ่มผู้ใช้น้ำในเขตพื้นที่ชลประทานที่พอใจต่อการบริหารจัดการน้ำ ภายนอกองค์กร แบบสอบถาม: RBM10 (สำรวจความคิดเห็น) ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี สอน. > กผง.
KPI 3.2 CSF. 3
ก. ด้านภาย นอกองค์กร
ข. ด้านภายใน องค์กร BSC ภายในองค์กร Internal Perspective 3 CSFs 7 KPIs
CSF. 4 BSC ภายในองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) บุคลากรมีความเชี่ยวชาญงานในหน้าที่ มีความรู้ในงานที่เกี่ยวข้อง มีจริยธรรมและมีจิตสำนึกในการให้บริการ 3 Kpi
KPI 4.1 ร้อยละของผู้บริหารที่พึงพอใจต่อการทำงานของบุคลากรของกรม 7 BSC ร้อยละของผู้บริหารที่พึงพอใจต่อการทำงานของบุคลากรของกรม ภายในองค์กร แบบสอบถาม: RBM11 (สำรวจความคิดเห็น) ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี สพบ. > กผง.
KPI 4.1
KPI 4.2 ร้อยละของบุคลากรที่พอใจในการทำงานของผู้บริหาร 8 BSC ร้อยละของบุคลากรที่พอใจในการทำงานของผู้บริหาร ภายในองค์กร แบบสอบถาม: RBM12 (สำรวจความคิดเห็น) ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี สพบ. > กผง.
KPI 4.2
ทุกหน่วย > สพบ. > กผง. KPI 4.3 9 BSC ร้อยละของผู้รับบริการที่พอใจต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรของกรม ภายในองค์กร ตู้รับความคิดเห็น : แบบRBM13 ความถี่การวัด: ทุก 3 เดือน ทุกหน่วย > สพบ. > กผง.
KPI 4.3 CSF. 4
CSF. 5 BSC ภายในองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) แผนงานในขบวนการศึกษา สำรวจ ออกแบบ จัดหาที่ดิน และแผนปฏิบัติการในการก่อสร้างชัดเจนและมีการปฏิบัติงานตามแผน 2 Kpi
ศึกษา/สำรวจ/ออกแบบ/ที่ดิน/ก่อสร้าง > กผง. KPI 5.1 10 BSC ร้อยละของโครงการชลประทานขนาดใหญ่และขนาดกลางที่ดำเนินการได้ตามแผน ภายในองค์กร แบบฟอร์ม: RBM14 RBM17 ความถี่การวัด: ทุก 3 เดือน ศึกษา/สำรวจ/ออกแบบ/ที่ดิน/ก่อสร้าง > กผง.
KPI 5.1
ศึกษา/สำรวจ/ออกแบบ/ก่อสร้าง > กผง. KPI 5.2 11 BSC ร้อยละของโครงการชลประทานขนาดเล็กที่ดำเนินการได้ตามแผน ภายในองค์กร แบบฟอร์ม: RBM15 RBM17 ความถี่การวัด: ทุก 3 เดือน ศึกษา/สำรวจ/ออกแบบ/ก่อสร้าง > กผง.
KPI 5.2 CSF. 5
CSF. 6 แผนและการบริหารจัดการน้ำชัดเจน มีประสิทธิภาพ 2 Kpi ภายในองค์กร BSC ภายในองค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) แผนและการบริหารจัดการน้ำชัดเจน มีประสิทธิภาพ 2 Kpi
KPI 6.1 ประสิทธิภาพชลประทานในฤดูฝน แบบฟอร์ม: RBM18 RBM19 12 BSC ภายในองค์กร ประสิทธิภาพชลประทานในฤดูฝน แบบฟอร์ม: RBM18 RBM19 ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.
KPI 6.1
ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง. KPI 6.2 13 BSC ภายในองค์กร ประสิทธิภาพชลประทานในฤดูแล้ง แบบฟอร์ม: RBM18 RBM19 ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.
KPI 6.2 CSF. 6
ข. ด้านภายใน องค์กร
ค. ด้าน นวัตกรรม BSC นวัต กรรม Innovation Perspective 1 CSFs 1 KPIs
CSF. 7 BSC นวัต กรรม ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) การพัฒนาระบบเทคโน โลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาแหล่งน้ำ และจัดการน้ำ 1 Kpi
KPI 7.1 แบบฟอร์ม : RBM20 ความถี่การวัด: ทุก 6 เดือน สศท. > กผง. 14 BSC ร้อยละของความก้าวหน้าของการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาแหล่งน้ำและจัดการน้ำ นวัต กรรม แบบฟอร์ม : RBM20 ความถี่การวัด: ทุก 6 เดือน สศท. > กผง.
KPI 7.1 CSF. 7
ค. ด้าน นวัตกรรม
ง. ด้าน การเงิน BSC การเงิน Financial Perspective 3 CSFs 4 KPIs
CSF. 8 การใช้ทรัพยากรได้อย่างประหยัดและคุ้มค่า 1 Kpi การเงิน BSC ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) การใช้ทรัพยากรได้อย่างประหยัดและคุ้มค่า 1 Kpi
ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง. KPI 8.1 15 BSC ต้นทุนในการบริหารจัดการน้ำต่อไร่ การเงิน แบบฟอร์ม: RBM21 RBM22 ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี ชคบ./ชคป. >สชป.>สอน.>กผง.
KPI 8.1 CSF. 8
CSF. 9 BSC การเงิน ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) การปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบราชการ ปราศจากทุจริต และประพฤติมิชอบ 2 Kpi
KPI 9.1 16 BSC จำนวนบุคลากรที่ได้รับการตัดสินจาก อ.ก.พ. กรมว่าทุจริตและประพฤติมิชอบ การเงิน รวบรวมข้อมูล ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี สพบ. > กผง.
KPI 9.1
KPI 9.2 จำนวนบุคลากรที่ถูกลงโทษฐานทำผิดวินัยทาง งบประมาณและการคลัง 17 BSC จำนวนบุคลากรที่ถูกลงโทษฐานทำผิดวินัยทาง งบประมาณและการคลัง การเงิน รวบรวมข้อมูล ความถี่การวัด: ทุก 1 ปี กงบ. > กผง.
KPI 9.2 CSF. 9
CSF. 10 การเบิกจ่ายเงิน งบประมาณเป็นไปตามแผน 1 Kpi การเงิน BSC ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factors) การเบิกจ่ายเงิน งบประมาณเป็นไปตามแผน 1 Kpi
ความถี่การวัด: ทุก 3 เดือน ทุกหน่วย > กงบ. > กผง. KPI 10.1 18 BSC ร้อยละของการเบิกจ่ายเงิน งบประมาณหมวดงบลงทุนที่เป็นไปตามแผนงาน/โครงการ การเงิน รวบรวมข้อมูล ความถี่การวัด: ทุก 3 เดือน ทุกหน่วย > กงบ. > กผง.
KPI 10.1 CSF. 10
ง. ด้าน การเงิน
สรุปผลการปฏิบัติงาน RBM ปีงบประมาณ พ.ศ. 2546
ปัญหา และอุปสรรค RBM (ในปี 2546)
ปัญหาและอุปสรรค จนท. ยังไม่เข้าใจดีพอ 2. ผู้บริหารไม่เข้าใจ 3. ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญ
ปัญหาและอุปสรรค 4. คณะทำงานไม่ทำหน้าที่ 5. ขาดการตรวจสอบข้อเท็จจริงก่อนรายงาน
ปัญหาและอุปสรรค 6. จนท. ขาดทักษะในการวิเคราะห์ KPI. 7. การตั้งค่าเป้าหมายยังไม่ดีพอ
ปัญหาและอุปสรรค 8. ไม่มีการนำผลจาก RBM. ไปปรับปรุงงาน /ปรับกลยุทธ์ /เชื่อมโยงกับการจัดสรร งปม.
การระดมความคิดเห็น ปัญหาของ KPI. ปัญหาในการรายงาน -ปัญหา -สาเหตุ -แนวทางแก้ไข
RBM ปี 2547 ปรับปรุง KPI. ปรับปรุงคู่มือ สร้างความเข้าใจอย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงกับรางวัล
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (Public Sector Development Division) กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Change Agent Knowledge Worker Cross Functional Team
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ www.rid.go.th/reform กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
www.rid.go.th/reform