Private Equity มิตรแท้ของเจ้าของกิจการ? โดย ดร.อุตตม สาวนายน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยพรอสเพอริตี้ แอ็ดไวซอรี่ จำกัด งานสัมนา “Private Equity พันธมิตรของกิจการสู่การเติบโต” สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ วันที่ 28 สิงหาคม 2555
กองทุน Private Equity (PE) 1 ระดมทุนจากนักลงทุนสถาบัน บุคคลรายใหญ่ ไม่มีรายย่อย จำนวนนักลงทุนไม่มากเหมือนกองทุนรวม ลงทุนระยะปานกลาง – ระยะยาว 3 – 6 ปี โดยกองทุนมักมีอายุ 8 – 10 ปี ลงทุนในบริษัทเพื่อถือหุ้นในสัดส่วนที่มีนัย Minority Majority 15 / 25% 75 / 100% มุ่งสร้างผลตอบแทนจากการเพิ่มขึ้นของมูลค่าของบริษัท (รวมถึงผลตอบแทนจากเงินปันผล หรือ จากรูปแบบอื่น) อาจใช้การกู้ยืมหรือไม่ก็ได้ในการเข้าลงทุน “Leveraged Buyout Funds” หรือ “Pure Equity Funds”
Asia’s share of PE investments continues to grow 2 Global PE investments* (US$bn) Asia 69 60 18 420 147 127 134 27 288 162 143 42 347 251 66 294 82 441 358 817 737 2003 2007 2008 2005 2009 2010 2011 2004 2006 168 136 54 193 351 316 81 68 44 46 137 106 144 12% 9% 10% 15% 23% 13% 21% Asia Europe N. America Europe North America Asia’s share of PE investments continues to grow Source: McKinsey & Co. * PE investments include buyouts, turnarounds, PIPEs, expansion, pre-IPO and mezzanine.
PE investments in Asia Pacific - breakdown by major markets 3 PE investments in Asia Pacific - breakdown by major markets Source: AVCJ; McKinsey & Co. analysis, 2011 * PE investments include buyouts, turnarounds, PIPEs, expansion, pre-IPO and mezzanine.
บทบาทของ PE ในฐานะผู้ถือหุ้นของบริษัท 4 คาดหวังเป็นพันธมิตรระยะยาวกับเจ้าของกิจการ ร่วมมือและช่วยสร้างมูลค่ากิจการ จากการขยายธุรกิจให้เติบโตอย่างชัดเจน ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับแผนธุรกิจ เป้าหมาย การบริหารจัดการ การปรับปรุง ยกระดับขบวนการดำเนินงาน ฯลฯ ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาระบบงานต่าง ๆ อาทิ ระบบการเงิน ระบบตรวจสอบภายใน ระบบธรรมาภิบาลของบริษัท สนับสนุนเรื่อง Business Network & Connection, ข้อมูล รวมถึงการจัดหาแหล่งเงินทุน ถอนการลงทุน (Exit) จากบริษัท เมื่อสามารถสร้างผลตอบแทนการลงทุนตามเป้าหมายภายใต้เงื่อนไขที่ตกลงกับเจ้าของกิจการไว้
แนวทางการเข้าลงทุนของ Private Equity 5 1980’s Leveraged Buyout Funds (LBOs) ลงทุนเพื่อซื้อกิจการ โดยใช้เงินกู้ผสมกับเงินทุน ปรับเปลี่ยนบริษัทอย่างมีนัยในหลายด้าน อาทิ ผู้บริหาร ขบวนการผลิต ลดต้นทุน โครงสร้างการเงิน เพื่อพยายามสร้างมูลค่าเพิ่ม จำนวนสูง ก่อนถอนการลงทุน 1990’s - ปัจจุบัน Private Equity Buyouts / Controlling Stake : ลงทุนเพื่อซื้อกิจการหรือให้สามารถมีอิทธิพลในการดำเนิน งานได้ เช่น เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่สุด Expansion : เป็นแหล่งเงินทุนให้บริษัทที่อยู่ในช่วงเวลาของการขยายธุรกิจ (Growth Stage) Pre-IPO : เป็นแหล่งเงินทุนให้บริษัทที่จะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ภายใน 1-2 ปี PIPEs : ลงทุนในบริษัทจดทะเบียนผ่านการเพิ่มทุนแบบ Private Investments Turnarounds : เพิ่มทุนให้บริษัทที่มีศักยภาพแต่ประสบปัญหาบางประการเพื่อฟื้นฟูกิจการ
Value of PE Investments by financing stage Number of deals by stake 6 Value of PE Investments by financing stage (2005 – 2011) Number of deals by stake (2005 – 2011) Source: AVCJ; Recof M&A; McKinsey & Co. analysis, 2012
7 Funds with geographical focus on Thailand (as part of ASEAN) – recently raised / closed Source: preqin
Private Equity Investments in Southeast Asia, 2005 - 2011 8 Private Equity Investments in Southeast Asia, 2005 - 2011 Number of investments 1 Value of investments 1 US$ million Select data points shown. Total annual deal values were less than $150mn in Malaysia for 2010 and 2011; Thailand for 2004, 2008, 2009, 2010 and 2011; Vietnam for 2005, 2008 and 2009; and the Philippines for 2005, 2006 and 2009. Source: AVCJ; McKinsey & Co analysis.
ยังไม่เป็นที่รู้จักกว้างขวางโดยบริษัทและนักลงทุนระยะยาว 9 PE ในประเทศไทย ยังไม่เป็นที่รู้จักกว้างขวางโดยบริษัทและนักลงทุนระยะยาว PE และ VC มีการเติบโตช้า (โดยเฉพาะกองทุนสัญชาติไทย) ลักษณะการลงทุนในบริษัทส่วนใหญ่ เป็นการลงทุนแบบ Minority เป็นพันธมิตรมากกว่าเป็นการครอบงำกิจการ การขยายตัวของกิจการ Venture Capital Public Equity Private Equity การใช้ทุน Equity
การลงทุนภายในประเทศต้องการการขับเคลื่อน 10 การลงทุนภายในประเทศต้องการการขับเคลื่อน เปรียบเทียบสัดส่วนรายจ่ายเพื่อการลงทุนต่อจีดีพี สัดส่วนรายจ่ายเพื่อการลงทุนต่อจีดีพีของประเทศไทย หน่วย: % หน่วย: % จีน เวียดนาม เกาหลีใต้ อินโดนีเซีย มาเลซีย ไทย ไทย ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC
Share of Total Foreign Direct Investments in SE Asia 11 Share of Total Foreign Direct Investments in SE Asia
มองไปข้างหน้า 12 การเจริญเติบโตของ Asia และ AEC สร้างโอกาสและความท้าทายใหม่ ๆ แก่ผู้ประกอบการไทย กิจการต้องปรับตัว สร้างความพร้อม ยกขีดความสามารถที่จะแข่งขันและเติบโต แข่งขันด้วยการสร้างมูลค่าเพิ่มใน Value Chain ของสินค้าและบริการ มากกว่าต้นทุนและแรงงานถูก จำเป็นต้องลงทุนให้เพียงพอในเทคโนโลยี R&D เพื่อสร้างนวัตกรรม ความได้เปรียบของสินค้าและบริการที่แท้จริง ประเทศไทยจำเป็นต้องพัฒนาเครื่องมือระดมทุนที่ครบวงจรมากกว่าปัจจุบัน เพื่อสนับสนุนการลงทุนของภาคเอกชนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เจ้าของกิจการควรให้ความสำคัญและใช้ประโยชน์จากแหล่งระดมทุนที่เหมาะสม สอดคล้องกับช่วงเวลาของการขยายธุรกิจ เพื่อให้องค์กรเติบโตได้อย่างต่อเนื่องและสร้างมูลค่าเพิ่มได้เต็มที่