งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีสู่ธุรกิจเชิงพาณิชย์” ศาสตราจารย์ ดร. ปิยะสาร ประเสริฐธรรม ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การสัมมนา “การส่งเสริมงานวิจัย และพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ธุรกิจเชิงพาณิชย์ จากหิ้งสู่ห้าง” 3 กันยายน 2553

2 “ การส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จะประสบความสำเร็จได้ต่อเมื่อเข้าใจถึง ประเภท และขนาด ของอุตสาหกรรม หรือแหล่งผลิต นอกจากนี้ยังจำเป็นต้องเลือก รูปแบบ วิธีการดำเนินการที่เหมาะสม ด้วย”

3 ประเภทของอุตสาหกรรม หรือแหล่งผลิตสินค้า
แบ่งตามมุมมองของการพัฒนาและส่งเสริมงานวิจัย คือ 1 อุตสาหกรรมที่ ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็น คนไทย 2 อุตสาหกรรมที่ ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็น คนต่างชาติ

4 “อุตสาหกรรมที่ ผู้ถือหุ้นใหญ่เป็นคนต่างชาติมักจะทำวิจัย ที่บริษัทหลักในต่างประเทศ”

5 ขนาดอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ SME

6 รูปแบบในการทำวิจัย หน่วยงานของรัฐ เช่น มหาวิทยาลัย ทำวิจัย โดยใช้งบประมาณจากรัฐเป็นหลัก 1 2 อุตสาหกรรมทำวิจัยภายในบริษัทเอง อุตสาหกรรมสนับสนุนทุนให้ หน่วยงานของรัฐทำวิจัย เพื่อนำผลมาแก้ปัญหาการผลิตขององค์กร 3 อุตสาหกรรมและหน่วยงานของรัฐ ทำวิจัยร่วมกัน องค์ความรู้ที่ได้มาแบ่งปันผลประโยชน์กัน 4

7 การเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของรูปแบบในการทำวิจัยแต่ละรูปแบบ
ตาราง การเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียของรูปแบบในการทำวิจัยแต่ละรูปแบบ ข้อเสีย รูปแบบ ข้อดี  โจทย์วิจัยมักมาจากนักวิจัยเอง  เป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ พื้นฐาน 1. หน่วยงานของรัฐทำวิจัยเอง  งบประมาณของรัฐจำกัด  นิสิต/นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกทำวิจัย  นักวิจัยส่วนใหญ่ ไม่ถนัด ทำวิจัยเพื่อบริการการผลิต  นักวิจัยมีความกดดันสูง เนื่องจากการคาดหวังของบริษัท  องค์ความรู้ที่ได้ทั้งหมดเป็นของบริษัทแต่ผู้เดียว 2. อุตสาหกรรมทำวิจัยเอง  ได้ผลงานที่นำไปใช้จริงในเวลาจำกัด (สั้น)  นักวิจัยส่วนใหญ่จะมองปัญหาลึกและแคบ

8 ข้อเสีย รูปแบบ ข้อดี 3. อุตสาหกรรมจ้างหน่วยงานของรัฐทำวิจัย
 เป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ พื้นฐาน 3. อุตสาหกรรมจ้างหน่วยงานของรัฐทำวิจัย  ผลงานวิจัยมักไม่ทันเวลา 4. การทำวิจัยร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรม หรือผู้ผลิต และหน่วยงานของรัฐ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งมหาวิทยาลัย)  เป็นการรวมเอาจุด เด่นของการวิจัยของทั้งสององค์กร มาใช้ประโยชน์เต็มที่  องค์กรความรู้พื้นฐานไม่สามารถเก็บเป็นความลับได้

9 หน่วยงานที่ทำวิจัย(มหาวิทยาลัย)
กุญแจแห่งความสำร็จในการทำวิจัย (Key of Success) “หุ้นส่วน” (partnership) แหล่งทุน อุตสาหกรรม หรือ หน่วยงานที่ทำวิจัย(มหาวิทยาลัย) ผู้ผลิต

10 รูปแบบการทำวิจัยร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรมหรือผู้ผลิต และมหาวิทยาลัย
นักวิจัยบริษัท วิจัยแบบมุ่งเน้น ผลิตภัณฑ์ใหม่ คณาจารย์ ฐานความรู้ (knowledge base) วิจัยพื้นฐาน นิสิต/นักศึกษา

11 คณาจารย์นิสิต/นักศึกษา
อุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ รัฐ โครงสร้างพื้นฐาน ผลิตภัณฑ์ใหม่  เงินลงทุน และดำเนินงาน มหาวิทยาลัย คณาจารย์นิสิต/นักศึกษา อุตสาหกรรม  โจทย์วิจัย  นักวิจัย องค์ความรู้พื้นฐาน

12 มหาวิทยาลัย SME รัฐ ผู้ประกอบการ สถาบันวิจัย เฉพาะทาง
 งบลงทุน  งบดำเนินงาน  นักวิจัย  โจทย์วิจัย ผู้ประกอบการ สถาบันวิจัย เฉพาะทาง  คณาจารย์  นิสิต/นักศึกษา มหาวิทยาลัย องค์ความรู้พื้นฐาน

13 บทสรุป  รูปแบบที่เหมาะสม ที่จะทำให้ผลงานวิจัย ได้นำไปใช้ประโยชน์จริง ในภาคการผลิต คือ การทำวิจัย ร่วมกัน ระหว่าง ภาครัฐ และภาคการผลิต  กุญแจแห่งความสำเร็จในการทำวิจัยคือ “หุ้นส่วน” และ ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน


ดาวน์โหลด ppt “นโยบายส่งเสริมงานวิจัยและ พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google