รายงานการปฏิบัติงาน (สหกิจศึกษา) รายงานการปฏิบัติงาน (สหกิจศึกษา) นำเสนอโดย นางสาวรอฮานี วาเตะ รหัส 5120710165 อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ ไฟซอล ดาโอ๊ะ
ที่ว่าการอำเภอมายอ ม.3 ต.มายอ อ.มายอ จ.ปัตตานี สถานที่ฝึกปฏิบัติงาน ที่ว่าการอำเภอมายอ ม.3 ต.มายอ อ.มายอ จ.ปัตตานี
ลักษณะงานที่ได้รับมอบหมาย ขอบเขตการนำเสนอ ประวัติความเป็นมาของ อำเภอมายอ แผนที่ อำเภอมายอ การปกครองส่วนภูมิภาค สาเหตุและวิธีการเลือกสถานที่ การเตรียมตัว ลักษณะงานที่ได้รับมอบหมาย ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ
ประวัติความเป็นมาของ อำเภอมายอ เมื่อ พ.ศ. 2443 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการปรับปรุงบริเวณ 7 หัวเมือง ของมณฑลปัตตานี โดยแบ่งเขตการปกครองออกเป็น จังหวัด อำเภอ ตำบล แ ละหมู่บ้าน ซึ่งปรากฏชื่ออำเภอ มายอขึ้นในสมัยนั้น ซึ่งเรียกว่า “อำเภอลาเกาะ” คำว่า “ลาเกาะ” เป็นคำเพี้ยนมจากคำว่า แลเกาะ เป็นภาษามาลายูท้องถิ่น แปลว่า “คด” หมายถึง ลำคลองทีมีลักษณะคดไปมา ในปี พ.ศ. 2444 ทางราชการพิจารณาเห็นว่าที่ตั้งอำเภอมายอไม่เหมาะสม จึงย้ายอาคารที่ว่ากรอำเภอมายอตั้งใหม่บนเนินเขาในเขตเทศบาลตำบลมายอ และเปลี่ยนชื่อเป็น “อำเภอมายอ” มาจนถึงปัจจุบัน
แผนที่ อำเภอมายอ ต.สาคอบน ต.กระหวะ ต.กระเสาะ ต.สาคอใต้ ต.ลางา ต.ถนน ต.เกาะจัน ต.สะกำ ต.ปานัน ต.มายอ ต.ตรัง ต.ปะโด ต.ลุโบะยิไร
4. กระหวะ (Krawa) 5 หมู่บ้าน 5. ลุโบะยิไร (Lubo Yirai) 8 หมู่บ้าน การปกครองส่วนภูมิภาค อำเภอมายอ แบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 13 ตำบล 59 หมู่บ้าน ได้แก่ 1. มายอ (Mayo) 3 หมู่บ้าน 2. ถนน (Thanon) 4 หมู่บ้าน 3. ตรัง (Trang) 4 หมู่บ้าน 4. กระหวะ (Krawa) 5 หมู่บ้าน 5. ลุโบะยิไร (Lubo Yirai) 8 หมู่บ้าน 6. ลางา (La-nga) 7 หมู่บ้าน 7. กระเสาะ (Kra So) 5 หมู่บ้าน
การปกครองส่วนภูมิภาค 8. เกาะจัน (Ko Chan) 5 หมู่บ้าน 9. ปะโด (Pado) 5 หมู่บ้าน 10. สาคอบน (Sakho Bon) 3 หมู่บ้าน 11. สาคอใต้ (Sakho Tai) 4 หมู่บ้าน 12. สะกำ (Sakam) 4 หมู่บ้าน 13. ปานัน (Panan) 2 หมู่บ้าน
หน่วยงานที่ปฏิบัติงาน แผนกกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอมายอ
สาเหตุและวิธีการเลือกสถานที่ สอดคล้องกับสาขาวิชา ขนาดปานกลาง ความสะดวกในการเดินทาง
การเตรียมตัว ด้านวิชาการ ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของงานท้องถิ่น โปรแกรมคอมฯ ข้อมูลเกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบ ด้านอื่นๆ เครื่องแต่งกาย อุปกรณ์ต่างๆ
รายละเอียดงานที่ได้รับมอบหมาย รับหนังสือราชการจังหวัด ลงทะเบียนเลขรับ ลงทะเบียนเลขส่ง ถ่ายเอกสาร พิมพ์ปะหน้า
ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน ด้านวิชาการ วิธีการและกระบวนการจัดทำแผนต่างๆ และอื่น หลักการจัดทำหนังสือราชการ เป็นต้น ได้เรียนรู้และพัฒนาตนเอง รวมทั้งความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี ด้านอื่นๆ ได้สัมผัสถึงระบบในสายงานตามสาขาวิชา ประสบการณ์ต่างๆ
ปัญหาและอุปสรรค์ - ขาดสมาธิ - ไม่รอบคอบเท่าที่ควร - ขาดทักษะการใช้คอมฯ - ระบบอินเตอร์เน็ตขัดข้อง
ข้อเสนอแนะ สร้างความพร้อมในทุกๆด้าน คณะควรสร้างความชัดเจนในแนวทางต่างๆ อื่นๆ
ประมวลภาพกิจกรรมการปฏิบัติงาน
Thank you for your attention