การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

การ อบรม โครงการพัฒนาระบบ สารสนเทศชุมชนภายใต้ โครงการจัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ ICT ชุมชน.
การถ่ายภาพงานพัฒนาชุมชน
Graphic Design for Video
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
น้ำหนักแสงเงา.
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
กลุ่ม L.O.Y..
เทคนิคการถ่ายภาพ คณะกรรมการจัดการความรู้ กองกิจการนักศึกษา.
จุดประสงค์ปลายทาง เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา ความรู้ในทาง วิทยาศาสตร์ว่ามีความสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมี หลักฐานและข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้เท่านั้น.
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
ผู้ผลิต นายเชิดชัย ประโปตินัง ตำแหน่ง ครู คศ. 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
สื่อประกอบการเรียนรู้
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
องค์ประกอบ Graphic.
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
Ultrasonic sensor.
วิชาถ่ายภาพ.
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
สายสัญญาณที่ต่อกับเครื่อง LCD Projector
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
Liquid Crystal Display (LCD)
บทที่ 4 การตกแต่งแผ่นงาน
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
หลักศิลปะเพื่อการออกแบบสวน
แสง สี ไฟ ในภาพยนตร์ Light Color Gaffer
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ การเลือกและปรับรูปทรงวัตถุ
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
เครื่องถ่ายเอกสาร.
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
Background / Story Board / Character
อาจารย์สถิตย์ กังวานณรงค์กุล มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
การถ่ายวีดีโอ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
เทคนิคการถ่ายรูปภาพ & วีดีโอ  ภาพที่ออกมาจะไม่มีสั่นไหว  ใช้ขาตั้งกล้อง  สถานที่หรือสิ่งของที่สามารถวางกล้องได้  ถือกล้องด้วย 2 มือให้ข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก.
BSRU Animation STUDIOS
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
ครูสุนิสา เมืองมาน้อย
หน่วยที่ 8 การตกแต่งภาพถ่าย
เทคนิคการถ่ายภาพ.
บทที่8 การเขียน Storyboard.
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
องค์ประกอบศิลป์สำหรับการถ่ายภาพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
แว่นกรองแสง (Light Filter)
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
หลักองค์ประกอบทางศิลปะ
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์ ความจำเป็นในการจัดแสง เพื่อให้แสงที่พอเพียงเหมาะสม การใช้แสงเพื่อลบเงา การจัดแสงเพื่อให้ได้สีที่ถูกต้องและสวยงาม การจัดแสงเพื่อให้เกิดรูปทรงและมิติ การใช้แสงเพื่อเป็นการบอกเวลาและสถานที่ การจัดแสดงเพื่อเป็นการสร้างบรรยากาศและอารมณ์ เพื่อให้เกิดความสนใจเฉพาะจุด

การจัดแสงขั้นพื้นฐาน การจัดแสงมีหลักการพื้นฐาน เรียกว่า การจัดแสงแบบสามเหลี่ยมพื้นฐาน (Basic Triangle) หรือ การจัดแสงลักษณะ 3 จุด คือ พยายามสร้างภาพในจอโทรทัศน์ให้เกิดเป็นภาพ 3 มิติ โดยให้มีมิติที่เป็นส่วนลึกเข้าไปด้วย

หลักการพื้นฐาน แบ่งไฟเป็น 3 ประเภท คือ ไฟหลัก (Key Light) เป็นไฟที่ส่องวัตถุ เพื่อให้เห็นรูปร่าง ทิศทาง พื้นผิว รายละเอียดต่างๆ แต่ไฟหลักทำให้เกิดเงา จึงต้องอาศัยไฟอื่นๆช่วย ไฟเสริม (Fill Light) เป็นไฟที่ช่วยลดความเข้มของเงาซึ่งเกิดจากไฟหลักให้จางลง เป็นไฟที่ให้แสงกระจาย ไฟหลัง (Back Light) เป็นไฟที่ส่องตรงมาจากด้านหลังของวัตถุ เพื่อสร้างความลึก สามารถแยกฉากกับวัตถุด้านหลังได้

นอกจากนี้ยังมีไฟดวงอื่นๆ ที่ช่วยเสริมให้การถ่ายทำสมบูรณ์ Back Light Kick light Hair light Set light Cross light คน/วัตถุ Cross light Side light Fill light Key light Eye light กล้อง

Side light ไฟข้าง เป็นไฟที่ใช้ส่องด้านข้างของคน/วัตถุ เพื่อช่วยเพิ่มจุดเด่นและลดเงา ในบางครั้งเราอาจใช้ไฟด้านข้างแทนไฟเสริมก็ได้ Set light ไฟพื้นหลัง หรือไฟฉากหลัง เพื่อช่วยแยกคน/วัตถุออกจากฉากหลัง ทำให้เห็นความลึกของภาพ ปกติแล้วจะให้ไฟส่องฉากมืดกว่าผู้แสดงเพื่อให้ผู้แสดงเด่นออกมา Kick light ไฟเฉียงด้านหลัง โดยส่องกระทบทั้งไหล่และศีรษะ เพื่อแยกผู้แสดงออกจากฉากหลัง ปกติจะวางไว้ตำแหน่งตรงข้ามกับไฟหลัก แต่อยู่ต่ำกว่าไฟหลัง

Eye light ไฟติดบนหลังกล้อง ช่วยให้ตาของผู้แสดงที่มองกล้องมีประกาย และช่วยให้กล้องมองวัตถุที่อยู่ในที่มืดได้ดี Hair light ไฟส่องผม สำหรับส่องผมผู้แสดง เพื่อให้เห็นโครงร่างของศีรษะ และผู้แสดงเด่นออกมาจากฉาก Cross light เป็นไฟส่องด้านข้าง จะใช้ไฟนี้เมื่อไม่สามารถใช้ไฟหลักได้ เช่น การถ่ายทำที่ใช้ฉากหลังเป็นการฉายสไลด์ หรือภาพยนตร์บนจอโปร่งแสง

การจัดแสงในการจัดฉาก ข้อมูลที่ผู้จัดแสงควรทราบ 1. ฉากนั้นเกิดขึ้นในเวลาใด 2. บรรยากาศในฉากนั้นเป็นอย่างไร 3. การเคลื่อนไหวของผู้ปรากฏตัวในฉากนั้น มีลักษณะอย่างไร 4. ตำแหน่งของกล้อง 5. การแต่งกายของผู้แสดง

การจัดแสงสำหรับการถ่ายทำนอกสถานที่ ปกติการถ่ายทำนอกสถานที่ ถ้าเป็นเวลากลางวัน การใช้แสงจากดวงอาทิตย์เป็นสิ่งที่สะดวกที่สุด แต่ต้องเลือกเวลาให้ถูกต้อง เวลาที่เหมาะสมคือ ช่วงที่ดวงอาทิตย์ทำมุม 45 องศา ถ้าเกิดเงาที่ไม่ต้องการ ก็ใช้ไฟ Day light หรือ Reflector เข้าช่วย

ปัญหาและข้อแนะนำในการจัดแสง การถ่ายทำโดยใช้แสงอาทิตย์ เวลาที่เหมาะสมที่สุดคือ 10 น. การใช้ Reflector ต้องจับให้นิ่ง เพราะถ้าเคลื่อนไหว จะทำให้แสงบนวัตถุเคลื่อนไหว การถ่ายทำนอกสถานที่ แสงอาทิตย์จะไม่คงที่ ต้องระวังเรื่องการปรับ white balance การจัดแสงสำหรับบุคคล 2 คน อาจใช้แผ่นสำหรับลดความเข้มของแสง หรือ diffuser มาปิดเพื่อลดแสงบางส่วน

การจัดแสงสำหรับฉาก ต้องจัดแสงให้เหมือนจริงตามธรรมชาติมากที่สุด ตรวจสอบอุปกรณ์การจัดแสงทุกครั้งก่อนจัดแสง การจัดแสงไฟหลัก ถ้าบุคคลมีใบหน้าแบน ควรให้ไฟหลักอยู่สูงกว่าปกติเล็กน้อย จะช่วยให้เกิดเส้นตัดบนใบหน้าเข้มขึ้น ถ้าบุคคลนั้นหน้าผอม หน้ากระดูก ควรลดไฟหลักให้ต่ำกว่าปกติเล็กน้อย ช่างแสงและช่างฉากควรประสานงานร่วมกันก่อนการถ่ายทำ