บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
บทที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์ธุรกิจออนไลน์
รหัส หลักการตลาด.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน ศ. 471 สหภาพแรงงาน
บทที่ 2 แนวคิดและความสำคัญของงานการขาย
การใช้ E (Electronic) ในภาครัฐ
การตลาด กับสิ่งแวดล้อม
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC)
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
ยุทธศาสตร์การนำเข้า การค้าระหว่างประเทศมีมูลค่ากว่าร้อยละ 55 ของ GDP
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการจัดการ
SINGAPORE.
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
การปฏิวัติอุตสาหกรรม Industrial Revolution
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
บริษัท รวมค้าปลีกเข้มแข็งจำกัด Allied Retail Trade Co.,ltd (ART)
Free Trade Area Bilateral Agreement
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
สื่อประกอบการเรียนการสอน
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
การจัดการตลาด ความหมายการจัดการตลาด กระบวนการการจัดการตลาด
ภาพรวมการตลาด ความหมายของการตลาด และ ตลาด ระบบตลาด แนวคิดทางการตลาด
สารบัญ คำนำ หน้า บทสรุปผู้บริหาร วิสัยทัศน์&ภารกิจ
ปัจจัยสนับสนุน ความสามารถในการแข่งขัน
1 ความเปลี่ยนแปลง ในภาคการเงินและในการ อภิบาลบริษัท ดร. อัมมาร สยามวาลา 9 ธันวาคม 2549.
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
Computer Application in Customer Relationship Management
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารการตลาดโครงการทำการเกษตรตามสัญญา(Contract Farming) กรณีศึกษาด้านประเทศ สปป.ลาว โดย นางปราณี ศิริพันธ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการค้าชายแดนและมาตรการพิเศษทางการค้า.
มูลค่าการส่งออก-นำเข้าสินค้าไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ปี
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
AEC Roadmap for SMEs (ปุ๋ย)
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
SMEs SMALL MEDIUM ENTERPRIS ES วิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผู้ประกอบการ ในกิจการ อุตสาหกรรม ธุรกิจการเกษตร พาณิชยกรรม ธุรกิจบริการ.
เคลื่อนทัพส่งออก : มุมมองใหม่ โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทบาทของข้อมูลการตลาด
บทที่ 4 การค้าส่ง.
ความร่วมมือไทย-ลาว ในเรื่อง Contract Farming (CF)
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
เรื่องที่นักส่งเสริมการเกษตรควรรู้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 9 การจัดการโซ่อุปทานและโลจีสติกส์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
หน้าที่ทางการตลาด Marketing Function
ครูจงกล กลาง ชล 1. 2 รู้และเข้าใจ เกี่ยวกับกิจกรรม การผลิตที่ เกี่ยวข้องกับการ แลกเปลี่ยนหรือ ซื้อขาย.
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ

ทำไมประเทศต่างๆต้องทำการค้า ด้านทรัพยากร ด้านทักษะความชำนาญ เทคโนโลยี

สาเหตุที่นักธุรกิจสนใจตลาดต่างประเทศ

ตัวอย่างประเทศที่ดำเนินนโยบายเปิดและปิดตลาดการค้า สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน ฮ่องกง จีน ประเทศเปิด กานา โซเวียต พม่า เกาหลีเหนือ ประเทศปิด

ความสำคัญของการค้าระหว่างประเทศ 1. เป็นกลไกสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2. มีการใช้ทรัพยากรอย่างเต็มที่ และมีประสิทธิภาพมาก 3. ขนาดของตลาดภายในประเทศขยายตัว  4. เกิดการเรียนรู้ทักษะและถ่ายทอดทางด้านเทคโนโลยี  5. เกิดการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศ

ขนาดของการค้าระหว่างประเทศ อัตราการเปิดประเทศ สัดส่วนมูลค่าการค้าระหว่างประเทศเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (X + M) / Y

ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ 1. ระยะสั้น การผลิต : มีความชำนาญจึงได้ผลผลิตมากกว่าเดิม การบริโภค :ผู้บริโภคได้บริโภคสินค้าในปริมาณเพิ่มขึ้น หลากหลาย ราคาถูก

2. ระยะยาว เกิดการเพิ่มพูนวิทยาการสมัยใหม่ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปัจจัยการผลิต เกิดการลงทุนในต่างประเทศ เกิดการแข่งขัน

บทบาทหน้าที่ ภาครัฐ -สถาบันตรวจสอบสินค้า -การเจรจาการค้าระหว่างประเทศ -สถาบันการเงินที่จะตรวจสอบผู้ซื้อและโอนเงินระหว่างประเทศ -หน่วยงานอำนวยความสะดวกด้านการค้า เช่นกรมศุลกากร กรมส่งเสริมการส่งออก -ผู้ประสานงานการค้า :ทูตพาณิชย์

บทบาทหน้าที่ ภาคเอกชน -ผู้ส่งออก -ผู้นำเข้า -ผู้ผลิตในประเทศที่ต้องการวัตถุดิบ -บริษัทการค้าหรือพ่อค้าส่งหรือดีลเลอร์ตัวแทนจำหน่ายหรือเอเย่นต์ เป็นตัวแทนการขาย -ผู้เข้าไปลงทุนผลิตในต่างประเทศ -ผู้เข้าไปลงทุนทำธุรกิจ(รายเดียว,พันธมิตร joint venture) -ผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการขนส่งและธุรกิจต่อเนื่องอื่นๆ

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการค้า ด้านอุปทาน 1.แรงงานเป็นทั้งผู้บริโภคและปัจจัยการผลิต 2.ทรัพยากรไม้ ดิน น้ำ น้ำมัน สินแร่ 3.ผู้นำเทคโนโลยี 4.อื่นๆเช่นสภาพเศรษฐกิจ กฎหมายและการเมือง สังคมและ วัฒนธรรมสภาพการเปิดประเทศหรือปิดประเทศ

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการค้า ด้านอุปสงค์ 1.จำนวนประชากร 2.อำนาจซื้อหรือรายได้ 3.ราคาสินค้าในประเทศ/ส่งออกนำเข้า 4.อื่นๆเช่นอัตราแลกเปลี่ยน ภาษี ค่าขนส่ง รสนิยม