ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ยินดีต้อนรับ คณะผู้ตรวจสอบและประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รศ.ดร. เสริมศรี ไชยศร และ รศ.ดร.ดาราวรรณ ต๊ะปินดา วันที่ 15 มิ.ย. 2548
ที่ตั้ง ประวัติ ภาควิชาฯได้เริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2536 โดยมี ภาควิชาตั้งอยู่ที่ ชั้น 1-2 อาคารตะวัน กังวานพงศ์ และ อาคารหน่วยเครื่องช่วยคนพิการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ตั้ง ประวัติ ภาควิชาฯได้เริ่มก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2536 โดยมี รศ.พญ.จำนง สีตะพันธุ์ เป็นหัวหน้าภาควิชาฯคนแรก (23 ส.ค. 2536 – 30 ก.ย. 2538 ครบเกษียณอายุ) ต่อมามี ผู้ดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาฯ มีรายนาม ดังต่อไปนี้ รศ.นพ.เทอดชัย ชีวะเกตุ 1 ต.ค. 2538 – 30 ก.ย. 2543 รศ.พญ.อภิชนา โฆวินทะ 1 ต.ค. 2543 - ปัจจุบัน
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู หน่วยเครื่องช่วยคนพิการ 17 คน โครงสร้างภาควิชา ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู งานบริหาร งานการเรียนการสอน งานวิจัย งานบริการ - สำนักงานธุรการ - หลักสูตรแพทยศาสตร์ - หน่วยตรวจรักษา - หลักสูตรหลังปริญญา - ผู้ป่วยนอก - สำนักงานธุรการ - หลักสูตรกิจกรรมบำบัด - ผู้ป่วยใน ฟื้นฟู 1 หน่วยเครื่องช่วยคนพิการ - หลักสูตรกายภาพบำบัด - ผู้ป่วยใน ฟื้นฟู 2 - ผู้ป่วยในอื่นๆ - หน่วยกายภาพบำบัด - หน่วยตรวจพิเศษ - กล้ามเนื้อและเส้นประสาท - การทำงานกระเพาะปัสสาวะ - สมรรถภาพด้วยจักรยานวัดงาน - หน่วยกิจกรรมบำบัด - หน่วยเครื่องช่วยคนพิการ ปีการศึกษา 2547 อาจารย์ 4 คน หน่วยตรวจ 4 คน หน่วยกายกายบำบัด 16 คน หน่วยกิจกรรมบำบัด 6 คน หน่วยเครื่องช่วยคนพิการ 17 คน สำนักงานธุรการ 3 คน แพทย์ประจำบ้าน 6 คน แพทย์ใช้ทุน 4 คน
วิสัยทัศน์ - พันธกิจ วิสัยทัศน์ของภาควิชาฯ พันธกิจของภาควิชาฯ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู เป็นศูนย์การศึกษา และวิจัยด้าน เวชศาสตรฟื้นฟูในระดับภูมิภาค อีกทั้งเป็นศูนย์ให้บริการด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐานแก่ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่และภาคเหนือ พันธกิจของภาควิชาฯ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู เป็นส่วนหนึ่งของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นหน่วยงานที่ให้การศึกษา และให้การบำบัดรักษาฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ที่ได้มาตรฐานแก่ผู้ป่วย/ผู้พิการ และได้รับความศรัทธาจากประชาชน
คำขวัญภาควิชา วิจัยเสริมวิชาการ ประสานความร่วมมือ วิจัยเสริมวิชาการ ประสานความร่วมมือ ฟื้นฟูสมรรถภาพ เพิ่มคุณภาพชีวิต